เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน

ปริมาณเงิน vs. มิลตัน ฟรีดแมน

ในวิชาเศรษฐศาสตร์ ปริมาณเงิน (money supply sinv money stock) เป็นปริมาณรวมของสินทรัพย์การเงินที่มีอยู่ในเศรษฐกิจหนึ่งในเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวิธีนิยาม "เงิน" หลายวิธี แต่วิธีมาตรฐานปกติรวมเงินตราที่หมุนเวียนในระบบ และเงินฝากกระแสรายวัน ปกติรัฐบาลหรือธนาคารกลางของประเทศหนึ่งบันทึกและจัดพิมพ์ข้อมูลปริมาณเงิน นักวิเคราะห์ภาครัฐและเอกชนเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินมาช้านาน เนื่องจากเชื่อว่ากระทบต่อระดับราคา ภาวะเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนและวัฏจักรเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเงินกับราคาในอดีตสัมพันธ์กับทฤษฎีปริมาณเงิน (quantity theory of money) มีหลักฐานเชิงประจักษ์เข้มของความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างการเติบโตเงิน–อุปสงค์ (money–supply growth) และภาวะเงินเฟ้อราคาระยะยาว อย่างน้อยสำหรับการเพิ่มปริมาณเงินในเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ประเทศอย่างซิมบับเวซึ่งมีการเพิ่มปริมาณเงินอย่างรวดเร็วอย่างยิ่งมีราคาเพิ่มขึ้นรวดเร็วอย่างยิ่ง (ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวด) จึงเป็นเหตุผลหนึ่งสำหรับการพึ่งพานโยบายการเงินเป็นวิธีการควบคุมเงินเฟ้อ. มิลตัน ฟรีดแมน มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman; 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2455-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549) เจ้าของประโยคที่โด่งดัง “โลกนี้ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรี ๆ” (There's no such thing as a free lunch.) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ประจำสำนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมของมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน

ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน

ปริมาณเงิน มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ มิลตัน ฟรีดแมน มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณเงินและมิลตัน ฟรีดแมน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: