ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท
ปริภูมิ-เวลา vs. สัญกรณ์บรา-เค็ท
ในวิชาฟิสิกส์ ปริภูมิ-เวลา หรือ กาล-อวกาศ (spacetime) เป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ใด ๆ ที่รวมปริภูมิและเวลาเข้าด้วยกันเป็นความต่อเนื่องประสานเดียว ปริภูมิ-เวลาของเอกภพนั้นเดิมตีความจากมุมมองปริภูมิแบบยุคลิด (Euclidean space) ซึ่งถือว่าปริภูมิประกอบด้วยสามมิติ และเวลาประกอบด้วยหนึ่งมิติ คือ "มิติที่สี่" โดยการรวมปริภูมิและเวลาเข้าไปในแมนิโฟลด์ (manifold) เดียวที่เรียกกันว่า ปริภูมิแบบมินคอฟสกี (Minkowski space) นักฟิสิกส์ได้ทำให้ทฤษฎีทางฟิสิกส์จำนวนมากดูมีความเรียบง่ายขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตลอดจนอธิบายการทำงานของเอกภพทั้งระดับใหญ่กว่าดาราจักรและเล็กกว่าอะตอมได้อย่างเป็นรูปแบบเดียวกันมากยิ่งขึ้น. ในกลศาสตร์ควอนตัม สัญกรณ์บรา-เค็ท (bra–ket notation) คือ สัญกรณ์พื้นฐานที่ใช้ในการอธิบายสถานะควอนตัม แทนด้วยสัญลักษณ์ angle bracket ("\langle", และ "\rangle") และ vertical bar ("\mid") สัญกรณ์นี้สามารถแทนได้ทั้งเวกเตอร์และเมทริกซ์ ซึ่งถูกนำเสนอโดยพอล ดิแรก (Paul Dirac) ในปี 1939 และเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สัญกรณ์ดิแรก (Dirac notation) ในรูปผลคูณเชิงสเกลาร์ สามารถแสดงได้ดังนี้ ประกอบด้วยส่วนทางขวา |\psi\rangle เรียกว่า เวกเตอร์เค็ท (ket vector) และส่วนทางด้านซ้าย \langle\phi| เรียกว่า เวกเตอร์บรา (bra vector) ซึ่งเป็นสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน (complex conjugate) ของเค็ท.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท
ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลศาสตร์ควอนตัม
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท
การเปรียบเทียบระหว่าง ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท
ปริภูมิ-เวลา มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัญกรณ์บรา-เค็ท มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 1 / (16 + 4)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริภูมิ-เวลาและสัญกรณ์บรา-เค็ท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: