เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ

ปริซึม vs. เครื่องฉายข้ามศีรษะ

ปริซึมหกเหลี่ยมปรกติ ปริซึม (prism) คือทรงหลายหน้าที่สร้างจากฐานรูปหลายเหลี่ยมที่เหมือนกันและขนานกันสองหน้า และหน้าด้านข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน พื้นที่หน้าตัดทุกตำแหน่งที่ขนานกับฐานจะเป็นรูปเดิมตลอด และปริซึมก็เป็นพริสมาทอยด์ (prismatoid) ชนิดหนึ่งด้วย ปริซึมมุมฉาก (right prism) หมายความว่าเป็นปริซึมที่มีจุดมุมของรูปหลายเหลี่ยมบนฐานทั้งสองอยู่ตรงกันตามแนวดิ่ง ทำให้หน้าด้านข้างตั้งฉากกับฐานพอดีและเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากทุกด้าน ส่วน ปริซึม n เหลี่ยมปกติ (n-prism) หมายถึงปริซึมที่มีรูปหลายเหลี่ยมบนฐาน เป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (ทุกด้านยาวเท่ากัน) และเมื่อปริซึมอันหนึ่งๆ สามารถเป็นได้ทั้งปริซึมมุมฉาก ปริซึม n เหลี่ยมปรกติ และขอบทุกด้านยาวเท่ากันหมด จะถือว่าปริซึมอันนั้นเป็นทรงหลายหน้ากึ่งปรกติ (semiregular polyhedron) ทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานก็ถือเป็นปริซึมสี่เหลี่ยมด้านขนาน สำหรับปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากก็เทียบเท่ากับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสก็คือทรงลูกบาศก์นั่นเอง ปริมาตรของปริซึมสามารถคำนวณได้ง่ายๆ โดยการหาพื้นที่ผิวของฐานมาหนึ่งด้าน คูณด้วยความสูงของปริซึม. รื่องฉายกำลังใช้งานระหว่างบทเรียนชั้นเรียนหนึ่ง เครื่องฉายข้ามศีรษะ (overhead projector) เป็นเครื่องฉายระบบฉายอ้อม ทำงานผ่านแผ่นสะท้อนแสงสะท้อนไปมา จนเกิดเป็นภาพขึ้น เครื่องฉายข้ามศีรษะต้องฉายควบคู่กับแผ่นใสเท่านั้น ไม่สามารถใช้กระดาษชนิดอื่นได้ เครื่องฉายนี้มีจุดเด่นตรงที่สามารถฉายได้ทั้งในที่มืดและที่สว่าง แม้มีแสงมากก็ตาม เครื่องฉายข้ามศีรษะถูกประดิษฐ์ครั้งแรกขึ้นราวคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ฌูลส์ ดูบอสก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ

ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ

ปริซึม มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครื่องฉายข้ามศีรษะ มี 0 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (9 + 0)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริซึมและเครื่องฉายข้ามศีรษะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: