ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก
ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ vs. ไดอะแมกเนติก
ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ (Meissner effect) เป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจปรากฏการณ์หนึ่งของตัวนำยวดยิ่ง คือปรากฏการณ์ทางแม่เหล็ก ที่เรียกว่า ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ ถ้าสารมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิวิกฤตเมื่อใส่สนามแม่เหล็กเข้าไป เส้นแรงแม่เหล็กจะสามารถทะลุผ่านสารนี้ได้ แต่ถ้าลดอุณหภูมิของสารลงจนกระทั่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤต สารจะเปลี่ยนสภาพเป็นตัวนำยวดยิ่ง จากนั้นใส่สนามแม่เหล็กภายนอกเข้าไปอีกครั้งพบว่าเส้นแรงแม่เหล็กนี้ไม่สามารถทะลุผ่านเข้าไปในเนื้อของตัวนำยวดยิ่งได้ เนื่องจากสนามแม่เหล็กภายนอกทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่ผิวของตัวนำยวดยิ่งและกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นทำให้เกิดสนาม แม่เหล็กต่อต้านสนามแม่เหล็กภายนอกที่ใส่เข้าไป เป็นผลให้สนามแม่เหล็กภายในตัวนำยวดยิ่งมีค่าเป็นศูนย์ และทำให้ตัวนำยวดยิ่งมีสมบัติของสารแม่เหล็กไดอาแบบสมบูรณ์ (Perfect diamagnetic) ภาพแสดงผลของตัวนำยวดยิ่งที่อยู่ภายใต้สนามแม่เหล็ก ในขณะที่มีอุณหภูมสูงกว่าและต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤต จากปรากฏการณ์นี้ถ้าทำการทดลองในแนวดิ่ง โดยวางตัวนำยวดยิ่งเหนือแม่เหล็ก หรือวางแม่เหล็กเหนือตัวนำยวดยิ่งก็ได้ เมื่ออุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤต เส้นแรงแม่เหล็กไม่สามารถผ่านออกมาจากตัวนำยวดยิ่งได้ ทำให้ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กที่รอบตัวนำยวดยิ่งไม่สม่ำเสมอ จึงเกิดแรงผลักขึ้นระหว่างตัวนำยวดยิ่งกับแม่เหล็ก และถ้าวัสดุตัวบนมีน้ำหนักไม่มากนักก็จะ สามารถถูกยกลอยขึ้นได้ เรียกว่า เกิดการยกตัวด้วยแม่เหล็ก (Magnetic levitation) ปรากฏการณ์นี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูง (MagLev Train). อะแมกเนติก (Diamagnetism) เป็นสมบัติการมีปฏิกิริยาสนามแม่เหล็ก ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะของสสารนั้น ๆ เกี่ยวกับการเปลี่ยนทิศทางของอิเล็กตรอนออบิทอล ซึ่งก่อให้เกิดแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งมีสมการทางฟิสิกส์อธิบายไว้ว่า F.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก
ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สนามแม่เหล็ก
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf.
ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และสนามแม่เหล็ก · สนามแม่เหล็กและไดอะแมกเนติก · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก
การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก
ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไดอะแมกเนติก มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 11.11% = 1 / (4 + 5)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และไดอะแมกเนติก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: