โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส

ปรากฏการณ์โลกร้อน vs. รอยเตอร์ส

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551 ปรากฏการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี.. อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 รอยเตอร์สได้รวมกิจการกับบริษัททอมสัน คอร์ปอเรชัน (Thomson Corporation) ผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินรายใหญ่จากแคนาดาที่มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 11 โดยบริษัทใหม่ได้ใช้ชื่อว่า ทอมสัน รอยเตอร์ส (Thomson Reuters) และจะกลายเป็นผู้ให้บริการทางการเงินรายใหญ่ที่สุดของโลกด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 34 แซงหน้าบลูมเบิร์กที่มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 33.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส

ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2550โลก

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ปรากฏการณ์โลกร้อนและพ.ศ. 2550 · พ.ศ. 2550และรอยเตอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ปรากฏการณ์โลกร้อนและโลก · รอยเตอร์สและโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส

ปรากฏการณ์โลกร้อน มี 146 ความสัมพันธ์ขณะที่ รอยเตอร์ส มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.26% = 2 / (146 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์โลกร้อนและรอยเตอร์ส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »