ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ vs. เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ (Dunning–Kruger effect) เป็นความเอนเอียงทางประชานที่บุคคลด้อยความสามารถเกิดความเหนือกว่าเทียม คือ การประเมินความสามารถของตนผิด ๆ สูงเกินจริง ดันนิงและครูเกอร์ว่า ความเอนเอียงนี้มีสาเหตุมาจากความไร้สามารถอภิประชาน (metacognitive incapacity) ในส่วนของผู้ด้อยความสามารถนั้น ที่จะรับรู้การขาดทักษะของพวกตนและประเมินสมรรถนะอย่างแม่นตรง การวิจัยดังกล่าวยังมีอนุนัยว่า บุคคลมากความสามารถอาจประเมินสมรรถนะโดยสัมพัทธ์ของตนต่ำกว่าจริง และอาจสันนิษฐานอย่างผิดพลาดว่างานพวกตนว่าง่ายสำหรับพวกตนจะง่ายสำหรับคนอื่นด้วย หมวดหมู่:ความเอนเอียงทางประชาน. อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ มี 48 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 48)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: