โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ vs. เอจีพีเอส

แหล่งกำเนิดคลื่นกำลังเคลื่อนที่ไปทางซ้าย ความถี่ของคลื่นทางด้านซ้ายจึงสูงกว่าทางด้านขวา ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ (Doppler Effect) หรือบางครั้งเรียกว่า การเคลื่อนดอปเพลอร์ (Doppler shift) เป็นปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่งที่ตั้งชื่อตาม คริสเตียน ดอปเพลอร์ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่นและความยาวคลื่นในมุมมองของผู้สังเกตเมื่อมีการเคลื่อนที่ที่สัมพันธ์กับแหล่งกำเนิดคลื่นนั้น พบเห็นได้ทั่วไปในชีวิตประจำวันเช่น เมื่อมีรถพยาบาลส่งสัญญาณไซเรนเคลื่อนเข้าใกล้ ผ่านตัวเรา และวิ่งห่างออกไป คลื่นเสียงที่เราได้ยินจะมีความถี่สูงขึ้น (กว่าคลื่นที่ส่งออกมาตามปกติ) ขณะที่รถเคลื่อนเข้ามาหา คลื่นเสียงมีลักษณะปกติขณะที่รถผ่านตัว และจะมีความถี่ลดลงเมื่อรถวิ่งห่างออกไป คลื่นที่มีการแพร่โดยต้องอาศัยตัวกลาง เช่นคลื่นเสียง ความเร็วของผู้สังเกตกับความเร็วของแหล่งกำเนิดคลื่นจะมีความสัมพันธ์กับตัวกลางที่คลื่นนั้นแพร่ผ่าน ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์โดยรวมจะเป็นผลจากทั้งการเคลื่อนที่ของแหล่งกำเนิด การเคลื่อนที่ของผู้สังเกต และการเคลื่อนที่ของตัวกลางด้วย ปรากฏการณ์ในแต่ละส่วนสามารถวิเคราะห์ได้โดยแยกจากกัน ส่วนคลื่นที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางเช่นคลื่นแสงหรือแรงโน้มถ่วงในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ จะสนใจเฉพาะความเร็วสัมพันธ์ที่แตกต่างกันระหว่างผู้สังเกตกับแหล่งกำเนิดเท่านั้น การเปลี่ยนความถี่ของเสียงที่ผู้ฟังได้ยินจะขึ้นอยู่กับความเร็วของแหล่งกำเนิด การเปลี่ยนความถี่ของเสียงที่ผู้ฟังได้ยินจะขึ้นอยู่กับความเร็วของแหล่งกำเนิด Vs (s ย่อมาจากSource) และความเร็วของผู้ฟังVL (L ย่อมาจาก Listener) โดยทั่วไปทั้งผู้ฟังและแหล่งกำเนิดอาจจะเคลื่อนที่ได้ ดังนั้นในการวิเคราะห์จึงไม่เหมาะสมที่จะใช้ผู้ฟังหรือแหล่งกำเนิดเป็นกรอบอ้างอิง ในที่นี่จึงใช้ตัวกลางที่เสียงเคลื่อนที่เป็นการอ้างอิง ซึ่งจะทำให้อัตราเร็วเสียงคงตัวเสมอ ไม่ขึ้นอยู่กับความเร็วของแหล่งกำเนิดหรือผู้ฟัง ในส่วนของของความเร็ซของแหล่งกำเนิด VS และความเร็วของผู้ฟัง VL จะวัดเทียบตัวกลางของคลื่นเสียงด้วย และเนื่องจากการศึกษาปรากฎการณ์คอปเพลอร์ในที่นี้เป็นเป็นเพียงการศึกษาในเบื้องต้น ดังนั้นจะพิจารณาเฉพาะกรณีที่ความเร็วของแหล่งกำเนิดและผู้ฟังอยู่บนเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างแหล่งกำเนิดกับผู้ฟังเท่านั้น (การเคลื่อนที่ 1 มิติ). อจีพีเอส (Assisted GPS นิยมย่อว่า A - GPS) เป็นระบบที่ช่วยในการเพิ่มสมรรถภาพของจีพีเอสในช่วงการเริ่มต้นการใช้งาน เอจีพีเอสนิยมพบได้ในโทรศัพท์มือถือและสมาร์ตโฟนที่มีความสามารถจีพีเอส เอจีพีเอส พัฒนาโดย U.S. Federal Communications Commission (FCC) เพื่อให้ตำแหน่งของโทรศัพท์มือถือสามารถตรวจสอบได้ในกรณีฉุกเฉิน การทำงานทั่วไปของจีพีเอส จะใช้เวลาประมาณ 60-90 วินาทีในการเริ่มต้นระบุตำแหน่ง ซึ่งใช้ข้อมูลการโคจรของดาวเทียมในการคำนวณตำแหน่งปัจจุบัน โดยมีอัตราการส่งสัญญาณอยู่ที่ 50 บิต/วินาที ซึ่งการดาวน์โหลดข้อมูลโคจรโดยตรงหลายครั้งจะกินเวลานานมากกว่านั้น ในระบบเอจีพีเอสจึงถูกนำมาใช้ โดยการทำงานผ่านทางเซิร์ฟเวอร์ของระบบ โดยข้อมูลที่อยู่ในเซิร์ฟเวอร์เอจีพีเอสเป็นข้อมูลจากวงโคจรที่ถูกนำมาเก็บไว้ล่วงหน้าในฐานข้อมูล และเมื่อเครื่องมือเช่นโทรศัพท์มือถือที่ต้องการเชื่อมต่อ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลเหล่านี้จากเซิร์ฟเวอร์โดยตรงผ่านทางคลื่นสัญญาโทรศัพท์มือถือ เช่น GSM, CDMA, WCDMA, LTE หรือแม้แต่สัญญาณวิทยุอย่าง Wi-Fi ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ปกติจะมีการดาวน์โหลดด้วยความเร็วที่สูงกว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอจีพีเอส มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และเอจีพีเอส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »