โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน vs. รังสีแกมมา

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน หรือ การกระเจิงคอมป์ตัน (Compton scattering) เป็นการลดพลังงาน หรือการเพิ่มความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอ็กซ์ หรือรังสีแกมมา เมื่อทำอันตกิริยากับสสาร ส่วนปรากฏการณ์ย้อนกลับ (Inverse Compton scattering) สามารถเกิดขึ้นได้เช่นกันเมื่อโฟตอนได้รับพลังงานหรือการลดลงของความยาวคลื่นนั่นเอง โดยเรียกความยาวคลื่นที่เพิ่มขึ้นในปรากฏการณ์คอมพ์ตันนี้ว่า Compton shift ถึงแม้ว่าปรากฏการณ์นี้สามารถเกิดขึ้นได้กับนิวเคลียสก็ตาม ปรากฏการณ์คอมพ์ตันนี้ยังคงเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอนในอะตอม ปรากฏการณ์คอมพ์ตันเกิดจากการสังเกตโดย Arthur Holly Compton ในปี ค.ศ. 1923 และได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมโดยลูกศิษย์ของเขา Y.H. Woo ในปีต่อมา ซึ่งต่อมา Arthur Compton ก็ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ จากการค้นพบปรากฏการณ์นี้ในปี ค.ศ. 1927. รังสีแกมมา (Gamma radiation หรือ Gamma ray) มีสัญลักษณ์เป็นตัวอักษรกรีกว่า γ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) โดยมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง รังสีแกมมามีความถี่สูงมาก ดังนั้นมันจึงประกอบด้วยโฟตอนพลังงานสูงหลายตัว รังสีแกมมาเป็นการแผ่รังสีแบบ ionization มันจึงมีอันตรายต่อชีวภาพ รังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด การสลายให้รังสีแกมมาเป็นการสลายของนิวเคลียสของอะตอมในขณะที่มีการเปลี่ยนสถานะจากสถานะพลังงานสูงไปเป็นสถานะที่ต่ำกว่า แต่ก็อาจเกิดจากกระบวนการอื่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา

ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ รังสีแกมมา มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์คอมป์ตันและรังสีแกมมา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »