เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร

ปรัชญาการเมือง vs. ไชยันต์ ไชยพร

ลิติก ในสมัยกรีกโบราณ ปรัชญาการเมือง (political philosophy) เป็นสาขาวิชาหนึ่งขององค์ความรู้ในวิชารัฐศาสตร์ ปรัชญาการเมืองเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดเนื่องจากเป็นวิชาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ราวศตววษที่ 5 ก่อนคริสตกาลในดินแดนคาบสมุทธเพลอพอนเนซุส หรือดินแดนของประเทศกรีซในปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของวิชาปรัชญาการเมืองเกิดขึ้นในนครรัฐที่ชื่อว่าเอเธนส์ในช่วงที่เอเธนส์เริ่มเปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากระบบอภิสิทธ์ชนธิปไตย (Aristocracy) มาเป็นประชาธิปไตยโบราณ (Demokratia). ตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2502 -) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักกันในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์จุฬาฯ ผู้ฉีกบัตรเลือกตั้งต่อหน้าสื่อมวลชนในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2549 ในแนวทางอารยะขัดขืน นอกจากนี้ไชยันต์ยังเป็นนักวิชาการที่เขียนบทความเผยแพร่ตามสื่อต่างๆ อีกมากมาย ไชยันต์มีความเชี่ยวชาญด้านทฤษฎีและปรัชญาการเมือง โดยทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเกี่ยวกับแนวคิดทางการเมืองในงานของเพลโต เคยดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าภาควิชาการปกครอง นิสิตชอบเรียกว่า "โสกราตีสคนสุดท้าย" จากรูปแบบการสอนหนังสือ ที่เน้นการถามคำถามและสนทนามากกว่าบรรยายอย่างเดียว ในการประท้วงขับไล่นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ไชยันต์อยู่ในกลุ่มนักวิชาการกลุ่มแรก ๆ ที่ออกมาเคลื่อนไหว ในการเลือกตั้งวันที่ 2 เม.ย. พ.ศ. 2549 ไชยันต์ได้ฉีกบัตรเลือกตั้งของตนทิ้งโดยเป็นการเคลื่อนไหวในแนวทางอารยะขัดขืน ให้เหตุผลว่าการยุบสภาและการเลือกตั้งในครั้งนั้นไม่มีความชอบธรรม เขายอมรับว่ากระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งและพร้อมสู้คดีในทางกฎหมายต่อไป อย่างไรก็ตามไชยันต์ยืนยันสิทธิของตนตามรัฐธรรมนูญมาตรา 65 ว่าบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เชิญตัวไปสอบสวน และ หลังจากนั้นได้มีผู้ร่วมฉีกบัตรเลือกตั้งโดยกล่าวว่ามีอุดมการณ์เดียวกับไชยันต์ด้วย ล่าสุดศูนย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ยืนยันว่าจะช่วยเหลือไชยันต์ในทางกฎหมายแล้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร

ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ปรัชญาการเมืองและรัฐศาสตร์ · รัฐศาสตร์และไชยันต์ ไชยพร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร

ปรัชญาการเมือง มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไชยันต์ ไชยพร มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.78% = 1 / (11 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรัชญาการเมืองและไชยันต์ ไชยพร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: