โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู

ปรัชญา vs. อาแล็ง บาดียู

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน.. อาแล็ง บาดียู (Alain Badiou; เกิด 17 มกราคม ค.ศ. 1937) เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส อดีตหัวหน้าภาควิชาปรัชญา วิทยาลัยครูชั้นสูง (École Normale Supérieure) และผู้ก่อตั้งคณะปรัชญา มหาวิทยาลัยปารีส 8 (Université de Paris VIII) ร่วมกับฌีล เดอเลิซ, มีแชล ฟูโก และฌ็อง-ฟร็องซัว ลียอตาร์ บาดียูเขียนงานทางปรัชญาเกี่ยวกับประเด็นเรื่องสัต (being), ความจริง และอัตวิสัย ขณะที่ในทางการเมือง เขามีจุดยืนแบบซ้ายจัดและสนับสนุนแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู

ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภววิทยาความจริง

ภววิทยา

ววิทยา (ontology) เป็นปรัชญาสาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเรื่องสภาวะแห่งความเป็นอยู่ หรือสัตตะ (being) การแปรสภาพ (becoming) การดำรงอยู่ (existence) และรวมทั้งการจัดปทารถะ หรือประเภทของสัตตะภาวะ (categories of being) ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร ภววิทยามุ่งสนใจกับคำถามถึงการมีอยู่ (exist) ของสัตภาพ (entity) ต่างๆ หรือการมีอยู่ของสัตภาพนั้นมีอยู่อย่างไร ดำรงอยู่อย่างไร สัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ การดำรงอยู่ต่างๆ อย่างไร ซึ่งการศึกษาภววิทยาจะมีมุมมองแตกต่างตามแต่ละสำนึกคิด เช่น ในหนทางแบบอภิปรัชญาของปรัชญาวิเคราะห์ซึ่งมองว่าธรรมชาติของความเป็นจริง (reality) นั้นต้องพูดถึงการเป็นอยู่ขั้นปาทรถะ (category) ของความเป็นจริง ซึ่งทำให้นักปรัชญาเหล่านี้มองว่า ธรรมชาติของความเป็นจริงมีเบื้องหลังที่เป็นสิ่งพื้นฐาน (basic) และมีสิ่งที่เป็นอนุพันธ์ (derivatives) ตามออกมาจากสิ่งพื้นฐานเหล่านั้น อาทิ เชื่อว่ามีบางอย่างเป็นเหตุกำเนิดของสิ่งต่างๆ เช่น พระเจ้าเป็นสิ่งพื้นฐานแรกที่อยู่เบื้องหลัง และให้กำเนิดแก่สิ่งต่างๆ ตามมา ภววิทยา ถือว่าเป็นปรัชญาแขนงหนึ่งของอภิปรัชญา (metaphysics) อันเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความจริงของสรรพสิ่ง ความเป็นจริงของสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร อะไรอยู่ในฐานะที่เรียกได้ว่า จริง หรือ มีอยู่จริง และความจริงสูงสุด (Ultimate Reality) ที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่ปรากฏนั้นคืออะไร อะไรคือความจริงสูงสุดอันนั้น ความจริงสูงสุดนั้นเป็นยังไง เช่น ความดีคืออะไร ความยุติธรรมคืออะไร พระเจ้าคืออะไร จิตเป็นความจริงมูลฐาน หรือวัตถุเป็นความจริงมูลฐาน เป็นต้น แต่ในส่วนภววิทยา (Ontology) จะศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความจริงเหล่านั้น การดำรงอยู่ของสิ่งเหล่านั้น หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไร โดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของสัตตะ (being) ความเป็นจริงที่มีอยู่ของสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอภิปรัชญากับภววิทยานั้น มีความแตกต่างตรงที่ อภิปรัชญาสนใจคำถามว่า: what is "x" แต่ภววิทยาสนใจคำถามว่า: what "is" x.

ปรัชญาและภววิทยา · ภววิทยาและอาแล็ง บาดียู · ดูเพิ่มเติม »

ความจริง

วามจริง ถูกใช้อย่างสอดคล้องบ่อยครั้งกับข้อเท็จจริงและความเป็นจริงMerriam-Webster's Online Dictionary,, 2005 หรือความเที่ยงตรง ของต้นแบบ, มาตรฐาน หรือความคิด หลักปรัชญาตรงข้ามของความจริงคือความผิด ซึ่งสามารถใช้ในทางความหมายเชิงตรรกะ, รูปธรรม หรือจริยธรรมได้อย่างพ้องกัน แนวคิดของความจริงคืออภิปรายและถกเถียงในอรรถาธิบายหลากหลายประเด็น รวมถึงในเรื่องปรัชญาและศาสนา โดยกิจกรรมหลายอย่างของมนุษย์ใช้ความจริง เช่น วิทยาศาสตร์, นิติศาสตร์ และชีวิตประจำวัน หลากหลายทฤษฎีและมุมมองของความจริงยังคงถูกถกเถียงในหมู่นักปรัชญาและนักวิชาการ ภาษาและคำพูดคือสิ่งที่มนุษย์ใช้สื่อสารระหว่างกันและกัน และแนวคิดดังกล่าวเคยมองความจริงว่าเป็นเกณฑ์ของความจริง (criterion of truth) นอกจากนี้ยังมีคำถามมากมาย เช่น สิ่งใดถือเป็นความจริง, ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ว่าสิ่งใดจริงสิ่งใดไม่จริง และความจริงเป็นอัตวิสัยหรือรูปธรรม เป็นความสัมพันธ์หรือความสัมบูรณ์ หลายศาสนาพิจารณาการรอบรู้ความจริงทั้งหมดของสิ่งทั้งมวล (สัพพัญญู) ว่าเป็นลักษณะของเทวดาหรือความเหนือธรรมชาต.

ความจริงและปรัชญา · ความจริงและอาแล็ง บาดียู · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู

ปรัชญา มี 57 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาแล็ง บาดียู มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.67% = 2 / (57 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรัชญาและอาแล็ง บาดียู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »