โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018

ดัชนี ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) ในประเทศไท.

42 ความสัมพันธ์: ชาญชัย ชัยรุ่งเรืองชาติชาย เชี่ยวน้อยบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561พ.ศ. 2561พระมหากษัตริย์ไทยพระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)พรเพชร วิชิตชลชัยพิมพา จันทร์ประสงค์ระพี สาคริกรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วสิษฐ เดชกุญชรวิจิตร สุพินิจสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสล้าง บุนนาคสวลี ผกาพันธุ์สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)สุพล เมนาคมหาญ ลีนานนท์อโนเชาว์ ยอดบุตรทรูมูฟ เอชณัฐนิชา เชิดชูบุพการีดอกดิน กัญญามาลย์ประยุทธ์ จันทร์โอชาประเวศ ลิมปรังษีประเทศไทยนายกรัฐมนตรีไทย1 พฤษภาคม11 กุมภาพันธ์12 กุมภาพันธ์14 พฤษภาคม14 เมษายน15 พฤษภาคม16 เมษายน17 กุมภาพันธ์20 มิถุนายน21 มกราคม21 มีนาคม25 กุมภาพันธ์4 พฤษภาคม7 พฤษภาคม7 เมษายน

ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และชาญชัย ชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย เชี่ยวน้อย

ติชาย เชี่ยวน้อย อดีตนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นแชมป์โลกคนที่ 2 ของไท.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และชาติชาย เชี่ยวน้อย · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)

ระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร นามเดิม เจริญ แซ่บู๊ ฉายา กิ๊นเจี๊ยว (Kính Chiếu) เป็นพระภิกษุนิกายมหายาน อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย และอดีตเจ้าอาวาสวัดกุศลสมาคร.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และพระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว) · ดูเพิ่มเติม »

พรเพชร วิชิตชลชัย

ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และพรเพชร วิชิตชลชัย · ดูเพิ่มเติม »

พิมพา จันทร์ประสงค์

มพา จันทร์ประสงค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ต่อมาได้เป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และพิมพา จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ระพี สาคริก

ตราจารย์ ระพี สาคริก (4 ธันวาคม พ.ศ. 2465 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) ราษฎรอาวุโส นักวิจัย นักวิชาการเกษตรผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยสู่สากล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นอดีตนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และระพี สาคริก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วสิษฐ เดชกุญชร

ลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561)) อดีตนายตำรวจราชสำนักประจำ และเป็นผู้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไว้วางพระราชหฤทัย จนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้านายตำรวจราชสำนักประจำ ก่อนที่จะออกมาดำรงตำแหน่งรองอธิบดีกรมตำรวจ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ที่เป็นนักเขียนนวนิยายเกี่ยวกับวงการตำรวจ และอาชญากรรม โดยนำมาจากประสบการณ์จริง จนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2541 ได้รับยกย่องว่าเป็นตำรวจตงฉินแห่งกรมตำรวจไทย ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และวสิษฐ เดชกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร สุพินิจ

วิจิตร สุพินิจ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 - 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) อดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีต ประธานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และวิจิตร สุพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สล้าง บุนนาค

ล้าง บุนนาค พลตำรวจเอก สล้าง บุนนาค (5 มีนาคม พ.ศ. 2480 — 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) เกิดที่ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ เป็นบุตรของหลวงพินิตพาหนะเวทย์ (พิง) มารดาชื่อ ทองอยู่ (สกุลเดิม ลิมปิทีป) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รับราชการในกรมตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบัน) ตำแหน่งที่สำคัญได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 ผู้บัญชาการศึกษา ผู้ช่วยอธิบดีตำรวจ และรองอธิบดีกรมตำรวจ ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ ตามลำดับ ปัจจุบันเป็นสมาชิกวุฒิสภา ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฏ และเหรียญจักรพรรดิมาลา พลตำรวจเอกสล้าง มีบุตรกับภรรยาชื่อ สุพรรณวดี (สกุลเดิม ชุมดวง) 3 คน ได้แก่ วันจักร.ต.ท.พลจักร แล.ต.ท. เหมจักร นับเป็นลำดับชั้นที่ 7 พลตำรวจเอก.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสล้าง บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

สวลี ผกาพันธุ์

วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนของประเทศไทยภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สุพล เมนาคม

ผลงานของสุพล เมนาคม (ต้อม) ที่มีอย่างสม่ำเสมอ คือการเขียนปกนิตยสารมหาสนุก (ในภาพ เป็นปกนิตยสารมหาสนุก ฉบับที่ 929 ประจำวันที่ 14-21 มกราคม พ.ศ. 2552) สุพล เมนาคม (13 ตุลาคม พ.ศ. 2502 — 21 มกราคม พ.ศ. 2561) เจ้าของนามปากกา "ต้อม" (หรือที่เรียกทั่วไปว่า ต้อม ขายหัวเราะ) เป็นนักเขียนการ์ตูนไทยสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์นผู้มีลายเส้นและสีสันที่งดงามคนหนึ่งของเมืองไทย เขาเป็นผู้วาดปกนิตยสารมหาสนุก และเป็นเจ้าของตัวการ์ตูนที่มีชื่อเสียงอย่าง "ไก่ย่างวัลลภ" ซึ่งต่อมาได้มีการนำมาดัดแปลงเป็นการ์ตูนเรื่องสั้นชุด "วิลลี่ เดอะ ชิกเก้น".

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และสุพล เมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อโนเชาว์ ยอดบุตร

อโนเชาว์ ยอดบุตร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2501 - 21 มีนาคม พ.ศ.2561) นักแสดงชาวไทย ที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และอโนเชาว์ ยอดบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ทรูมูฟ เอช

ทรูมูฟ เอช (TrueMove H) หรือ บริษัท เรียลมูฟ จำกัด (Real Move Co., Ltd) และ บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท. โทรคมนาคม เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และทรูมูฟ เอช · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐนิชา เชิดชูบุพการี

ณัฐนิชา เชิดชูบุพการี (สกุลเดิม อุตวัฒน์; 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 7 เมษายน พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น อิน เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงในฐานะนักแสดงเด็กช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และณัฐนิชา เชิดชูบุพการี · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ ลิมปรังษี

ประเวศ ลิมปรังษี ประเวศ ลิมปรังษี (17 กันยายน พ.ศ. 2473 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นสถาปนิกชาวไทย เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช รับราชการจนดำรงตำแหน่ง ผู้ราชการจนดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (สถาปนิก 9) ด้านบูรณปฏิสังขรณ์ กรมศิลปากรในปัจจุบัน กรมศิลปากร มีผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งการออกแบบผูกลายไทย มีผลงานทั้งในและต่างประเทศ เช่น การออกแบบพระอุโบสถวัดพุทธประทีป ณ มหานครลอนดอน พลับพลาพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบรมมหากษัตริยาธิราช ณ ท้องสนามหลวงพระเมรุมาศพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี และบูรณะพระธาตุพนม เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และประเวศ ลิมปรังษี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ12 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2561

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »