เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016

ดัชนี ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ในประเทศไท.

สารบัญ

  1. 137 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณพ.ศ. 2456พ.ศ. 2462พ.ศ. 2464พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2473พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2478พ.ศ. 2482พ.ศ. 2486พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2492พ.ศ. 2500พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2523พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)พระมหากษัตริย์ไทยพระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)พระไชยบูลย์ ธมฺมชโยพรเพชร วิชิตชลชัยพิษณุ พลไวย์การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559มารศรี ณ บางช้างมนต์ชัย พันธุ์คงชื่นรัชนก อินทนนท์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ลพ บุรีรัตน์ลิขิต ธีรเวคินวัดพระธรรมกายวุฒิ คงคาเขตรวีระพล ตั้งสุวรรณศิริพร วงศ์สวัสดิ์สกุลไทยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์สันติ ดวงสว่างสำเภา ประจวบเหมาะ... ขยายดัชนี (87 มากกว่า) »

  2. ประเทศไทยในคริสต์ทศวรรษ 2010
  3. ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2559
  4. ปีในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในประเทศไทย
  5. พ.ศ. 2559 แบ่งตามประเทศ

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และบรรหาร ศิลปอาชา

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2456

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2464

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2471

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2473

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2475

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2476

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2478

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2486

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2492

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2505

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2506

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2513

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพ.ศ. 2559

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)

ระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) นามสกุล ฝังมุข (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 – 25 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตเจ้าคณะภาค 12 อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระมหากษัตริย์ไทย

พระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)

ระสุธรรมาธิบดี หรือ หลวงปู่แสง นามเดิม แสง ขุทรานนท์ ฉายา ชุตินฺธโร (10 มิถุนายน 2456 - 5 กุมภาพันธ์ 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมบูชา และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ธรรมยุต).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)

พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)

ระธรรมสิงหบุราจารย์ นามเดิม จรัญ จรรยารักษ์ ฉายา ตธมฺโม เป็นพระภิกษุชาวไทย ในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 3 ท่านมีชื่อเสียงในระดับประเทศจากการเป็นพระนักพัฒนา พระนักเทศน์ และพระวิปัสสนาจารย์ แนวทางการสืบทอดพระพุทธศาสนาของท่านเน้นหนักที่การสั่งสอนเรื่องกฎแห่งกรรม โดยยกเหตุการณ์ที่ท่านประสบและนับเป็นกฎแห่งกรรมขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์อยู่เสมอ และเน้นการพัฒนาจิตใจคนด้วยการฝึกวิปัสสนาตามหลักสติปัฏฐาน 4 แบบพองหนอ-ยุบหนอ นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ที่ส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนหมั่นสวดมนต์ด้วยพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) เพื่อเป็นเครื่องเจริญสติอย่างแพร่หลายอีกด้ว.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)

พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย

ระไชยบูลย์ ธมฺมชโย หรือ ไชยบูลย์ สุทธิผล เป็นพระภิกษุชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย และเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับของศาลอาญา ในข้อหาสมคบกันฟอกเงิน ร่วมกันฟอกเงิน และรับของโจร.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพระไชยบูลย์ ธมฺมชโย

พรเพชร วิชิตชลชัย

ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพรเพชร วิชิตชลชัย

พิษณุ พลไวย์

ษณุ พลไวย์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 17 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และพิษณุ พลไวย์

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไท..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559

มารศรี ณ บางช้าง

มารศรี ณ บางช้าง เป็นนักแสดงหญิงอาวุโส ชาวไทย ที่มีผลงานทั้งจอเงินและจอแก้วอย่างสม่ำเสมอตลอดมาร่วมครึ่งศตวรรษ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และมารศรี ณ บางช้าง

มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น

ลตำรวจเอกมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น (2 กันยายน พ.ศ. 2464 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น

รัชนก อินทนนท์

รัชนก อินทนนท์ ชื่อเล่น เมย์ (เกิด 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เป็นนักกีฬาแบดมินตันหญิงชาวไทย อดีตนักแบดมินตันหญิงเดี่ยวมือหนึ่งของโลกเมื่อปี..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และรัชนก อินทนนท์

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ลพ บุรีรัตน์

ลพ บุรีรัตน์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 — 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแต่งเพลงลูกทุ่งและอดีตนักร้องวงดนตรีจุฬารัตน์ ผู้สร้างชื่อเสียงให้กับพุ่มพวง ดวงจันทร์จากเพลง "สาวนาสั่งแฟน" "อื้อฮือหล่อจัง" "กระแซะเข้ามาซิ" "ดาวเรืองดาวโรย" "นัดพบหน้าอำเภอ" จนได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และลพ บุรีรัตน์

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และลิขิต ธีรเวคิน

วัดพระธรรมกาย

วัดพระธรรมกาย เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และวัดพระธรรมกาย

วุฒิ คงคาเขตร

วุฒิ คงคาเขตร (ชื่อเล่น:วุฒิ) เป็นอดีตนักแสดงชายชาวไท.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และวุฒิ คงคาเขตร

วีระพล ตั้งสุวรรณ

วีระพล ตั้งสุวรรณ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นประธานศาลฎีกา คนที่ 43 เริ่มดำรงตำแหน่งนี้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม แทนที่ดิเรก อิงคนินันท์ ที่เกษียณไป.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และวีระพล ตั้งสุวรรณ

ศิริพร วงศ์สวัสดิ์

ริพร วงศ์สวัสดิ์ เป็นนักแสดง นักร้อง นักพากย์ พิธีกร และนักธุรกิจชาวไทย มีธุรกิจส่วนตัว คือ ร้านอาหาร และเครื่องสำอางสมุนไพร เสียชีวิตเมื่อเวลาเที่ยงของวันที่ 17 มกราคม..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และศิริพร วงศ์สวัสดิ์

สกุลไทย

กุลไทย เป็นนิตยสารสตรีชนิดรายสัปดาห์ ผลิตโดย บริษัท อักษรโสภณ จำกัด ซึ่งดำเนินงานโดย นายประยูร ส่งเสริมสวัสดิ์ และ นายสันติ ส่งเสริมสวัสดิ์ ออกจำหน่ายฉบับแรกเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสกุลไทย

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

ลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ (20 กันยายน พ.ศ. 2478 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

สันติ ดวงสว่าง

ันติ ดวงสว่าง ชื่ออื่น เสน่ห์ สุดหล่อ,กำธร เทวดา หรือชื่อเดิม จเร ภู่ทอง (10 มกราคม พ.ศ. 2511 – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) เจ้าพ่อเพลงหวานที่มีผลงานเพลงดังมากมาย เช่น จูบไม่หวาน, ถอนคำสาบาน, รักนี้มีกรรม, น้ำกรดแช่เย็น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสันติ ดวงสว่าง

สำเภา ประจวบเหมาะ

นายสำเภา ประจวบเหมาะ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9 สมั.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และสำเภา ประจวบเหมาะ

หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี

ลตรี หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี (26 ตุลาคม พ.ศ.2475 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559) หรือ คุณชายศุภวัฒย์ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญของไทย และที่ปรึกษาคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์อ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี

หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 – 13 เมษายน พ.ศ. 2559) อดีตประธานศาลปกครองสูงสุด อดีตตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด อดีตรองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อดีตอาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ เคยเป็นกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ รวมทั้งเป็นกรรมการร่วมยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาทางปกครอง.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล

อำเภอไทรโยค

ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค เป็นอำเภอในจังหวัดกาญจนบุรี อยู่ห่างจากศูนย์กลางจังหวัดประมาณ 50 กิโลเมตร ลักษณะทั่วไปเป็นพื้นทีป่าไม้และภูเขา มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงคือ น้ำตกไทรโยค, ถ้ำละว้า, ถ้ำดาวดึงส์ และอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ เป็นต้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และอำเภอไทรโยค

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และอดุลย์ ดุลยรัตน์

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และจังหวัดกาญจนบุรี

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และถนัด คอมันตร์

ทฤษฎี สหวงษ์

ทฤษฎี สหวงษ์ (23 มกราคม 2523 – 18 มกราคม 2559) ชื่อเล่น ปอ เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากละครเรื่อง ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ทฤษฎีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม แล้วทำงานธนาคารก่อนเข้าวงการบันเทิงโดยเริ่มจากเป็นนายแบบ ได้แสดงละครเรื่อง ลิขสิทธิ์หัวใจ เป็นเรื่องแรก จากนั้นมีผลงานในวงการบันเทิงต่าง ๆ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับแวนดา มุททาสุวรรณในปี 2556 มีบุตรหนึ่งคน เดือนสิงหาคม 2558 ทฤษฎีรับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยเรื่องไข้เลือดออก แต่มีภาวะแทรกซ้อนมากมาย สุดท้ายเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2559 เนื่องจากการติดเชื้อในปอดลุกลาม.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และทฤษฎี สหวงษ์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และประยุทธ์ จันทร์โอชา

ประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประจวบ ฤกษ์ยามดี ชื่อเล่น น้อย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดงชาวไทย ฉายา ดาวร้ายผู้น่ารัก ที่ผู้ชมคุ้นเคยกับบทบาทผู้ช่วยพระเอก-นางเอก หรือผู้ร้ายที่มักกลับใจมาช่วยฝ่ายพระเอกในตอนท้าย ที่มีผลงานบทสมทบในภาพยนตร์ไทยจำนวนมากกว่าร้อยเรื่อง มักรับบทพระรองคู่พระเอก อย่าง มิตร ชัยบัญชา และสมบัติ เมทะนี และยังเป็นดาวร้ายเจ้าของรางวัล 2 ตุ๊กตาทอง ประจวบ ฤกษ์ยามดีในการแสดง ประจวบ ฤกษ์ยามดี เป็นบุตรคนสุดท้อง เป็นน้องชายของ ยุวนุช ฤกษ์ยามดี ดาราละครเวทีชื่อดังในอดีตและประจวบยังเป็นน้องภรรยาของผู้กำกับภาพยนตร์ ทวี ณ บางช้าง หรือครูมารุต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการทำงานอยู่ในโรงถ่ายหนุมานภาพยนตร์ของ รัตน์ เปสตันยี ต่อมาได้เริ่มต้นในวงการบันเทิงด้วยการแนะนำจากครูมารุต ผู้กำกับมือดีซึ่งเป็นพี่เขยของเขาเอง ได้แสดงในภาพยนตร์เรื่องแรก ชั่วฟ้าดินสลาย (2498) รับบทเป็น ทิพย์ และภาพยนตร์ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของแฟนๆมากที่สุดได้แก่เรื่อง รักริษยา (2501) กำกับโดย มารุต ได้แจ้งเกิดในบทดาวร้ายจากเรื่องนี้และได้ตุ๊กตาทองจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในปี..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา (สกุลเดิม กรองทอง; 6 กันยายน พ.ศ. 2462 — 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) มีนามปากกาว่า อุชเชนี และ นิด นรารักษ์ เป็นนักเขียนและนักแปลชาวไท.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และประเทศไทย

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และนายกรัฐมนตรีไทย

นำพล หนองกี่พาหุยุทธ

นำพล หนองกี่พาหุยุทธ (ชื่อจริง: นำพล ศรีจันทึก; ชื่อเล่น: แขก; เกิด: 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ที่ตำบลจันทึก อำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์; เสียชีวิต: 19 กันยายน พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และนำพล หนองกี่พาหุยุทธ

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และแก้วขวัญ วัชโรทัย

แมงมุมสันโดษเมดิเตอร์เรเนียน

แมงมุมสันโดษเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean recluse spider) เป็นแมงมุมที่พบได้ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน แต่ก็พบการกระจายพันธุ์ในรัฐอาร์คันซอบนเกาะฮาวาย ออสเตรเลีย, บางส่วนของจีน เกาหลีและญี่ปุ่น ตลอดจนอำเภอไทรโยคในประเทศไทย ตัวมีสีน้ำตาลเข้มแบนเรียว ขนาดตัวราว 7.0-7.5 มิลลิเมตร มีพิษที่ส่งผลให้บริเวณที่ถูกกัดมีการอักเสบ เนื้อเยื่อตาย ซึ่งนำไปสู่การติดเชื้อจนอาจถึงแก่ชีวิต.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และแมงมุมสันโดษเมดิเตอร์เรเนียน

โรช วิภัติภูมิประเทศ

ลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และโรช วิภัติภูมิประเทศ

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และโรงพยาบาลศิริราช

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

ไตรรงค์ อินทรทัต

ลเอก ไตรรงค์ อินทรทัต (1 กันยายน พ.ศ. 2492 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559) อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก เป็นบุตรชายคนสุดท้องในบรรดาบุตรทั้งหมด 4 คน (เป็นชายทั้งหมด) ของ.ต.โผน อินทรทัต อดีตเสรีไทยและผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และ ม.ล.กันยกา สุทัศน์ จบการศึกษาจากโรงเหมินทร์วิทยา, โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, โรงเรียนผะดุงศิษย์พิทยา เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) เหล่าทหารม้า รับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ อาทิ นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.ท.วีระพันธ์ รังคะรัตน์, ฝ่ายเสนาธิการประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด, นายทหารคนสนิท (ทส.) ของ พล.อ.มงคล อัมพรพิสิฏฐ์, ผู้ชำนาญการกองบัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการทหารสูงสุด, หัวหน้าสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก, ราชองครักษ์เวร, ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) และผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก พล.อ.ไตรรงค์ ถือเป็นนายทหารคนหนึ่งที่มีบทบาทในการเมืองโดยเฉพาะช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีตำแหน่งปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง ด้านความมั่นคง และงานมวลชนสัมพันธ์ และในการถูกลอบสังหารของ นายกรเทพ วิริยะ หรือ "ชิปปิ้งหมู" ซึ่งเป็นพยานปากสำคัญในคดีทุจริตของรัฐบาล ก็มีเสียงร่ำลือกันว่าเป็นฝีมือของ พล.อ.ไตรรงค์อีกด้วย และในการชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงแผ่นดิน พ.ศ.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และไตรรงค์ อินทรทัต

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และเปรม ติณสูลานนท์

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ1 กรกฎาคม

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ1 กันยายน

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ1 มิถุนายน

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ1 ธันวาคม

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ10 มิถุนายน

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ10 ธันวาคม

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ11 พฤษภาคม

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ12 พฤษภาคม

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ12 สิงหาคม

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ13 ตุลาคม

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ13 เมษายน

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ14 กุมภาพันธ์

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ14 มิถุนายน

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ15 กันยายน

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ15 มิถุนายน

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ15 สิงหาคม

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ15 ธันวาคม

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ17 พฤษภาคม

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ17 มกราคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ17 ธันวาคม

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ18 มกราคม

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ18 ธันวาคม

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ18 เมษายน

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ19 พฤษภาคม

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ19 กันยายน

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ19 สิงหาคม

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ2 กันยายน

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ2 มิถุนายน

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ20 พฤศจิกายน

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ20 กันยายน

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ20 มกราคม

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ21 พฤษภาคม

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ22 ธันวาคม

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ23 มกราคม

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ23 เมษายน

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ25 มกราคม

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ26 ตุลาคม

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ28 พฤษภาคม

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ29 มกราคม

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ3 กันยายน

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ3 มีนาคม

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ30 กรกฎาคม

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ30 เมษายน

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ31 ตุลาคม

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ4 พฤศจิกายน

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ4 กุมภาพันธ์

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ4 มิถุนายน

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ4 ตุลาคม

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ5 กันยายน

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ5 กุมภาพันธ์

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ5 สิงหาคม

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ5 ธันวาคม

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ5 เมษายน

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ6 พฤษภาคม

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ6 กันยายน

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ6 มิถุนายน

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ6 ธันวาคม

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ7 พฤษภาคม

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ7 กุมภาพันธ์

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ7 สิงหาคม

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ8 มกราคม

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ8 มิถุนายน

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ9 มิถุนายน

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016และ9 สิงหาคม

ดูเพิ่มเติม

ประเทศไทยในคริสต์ทศวรรษ 2010

ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2559

ปีในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ในประเทศไทย

พ.ศ. 2559 แบ่งตามประเทศ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ประเทศไทยใน พ.ศ. 2559

หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรีหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุลอำเภอไทรโยคอดุลย์ ดุลยรัตน์จังหวัดกาญจนบุรีถนัด คอมันตร์ทฤษฎี สหวงษ์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประยุทธ์ จันทร์โอชาประจวบ ฤกษ์ยามดีประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยาประเทศไทยนายกรัฐมนตรีไทยนำพล หนองกี่พาหุยุทธแก้วขวัญ วัชโรทัยแมงมุมสันโดษเมดิเตอร์เรเนียนโรช วิภัติภูมิประเทศโรงพยาบาลศิริราชโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไตรรงค์ อินทรทัตเปรม ติณสูลานนท์1 กรกฎาคม1 กันยายน1 มิถุนายน1 ธันวาคม10 มิถุนายน10 ธันวาคม11 พฤษภาคม12 พฤษภาคม12 สิงหาคม13 ตุลาคม13 เมษายน14 กุมภาพันธ์14 มิถุนายน15 กันยายน15 มิถุนายน15 สิงหาคม15 ธันวาคม17 พฤษภาคม17 มกราคม17 ธันวาคม18 มกราคม18 ธันวาคม18 เมษายน19 พฤษภาคม19 กันยายน19 สิงหาคม2 กันยายน2 มิถุนายน20 พฤศจิกายน20 กันยายน20 มกราคม21 พฤษภาคม22 ธันวาคม23 มกราคม23 เมษายน25 มกราคม26 ตุลาคม28 พฤษภาคม29 มกราคม3 กันยายน3 มีนาคม30 กรกฎาคม30 เมษายน31 ตุลาคม4 พฤศจิกายน4 กุมภาพันธ์4 มิถุนายน4 ตุลาคม5 กันยายน5 กุมภาพันธ์5 สิงหาคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 พฤษภาคม6 กันยายน6 มิถุนายน6 ธันวาคม7 พฤษภาคม7 กุมภาพันธ์7 สิงหาคม8 มกราคม8 มิถุนายน9 มิถุนายน9 สิงหาคม