โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน

ประเทศเอกวาดอร์ vs. เก็ลเซินเคียร์เชิน

อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito). เก็ลเซินเคียร์เชิน เก็ลเซินเคียร์เชิน (Gelsenkirchen) เป็นเมืองในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลียของประเทศเยอรมนี มีประชากร 274,926 คน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2002) มีหลักฐานเก่าแก่สุดว่าสร้างขึ้นประมาณ ค.ศ. 1150 แต่ดำรงฐานะเป็นเมืองขนาดเล็กมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม พื้นที่เขตนี้ในเยอรมนีกลายเป็นเหมืองถ่านหิน จึงทำให้มีประชากรเข้ามาอยู่อาศัยเป็นจำนวนมาก เกลเซนเคียร์เซนมีสโมสรฟุตบอลชาลเก 04 เป็นสโมสรประจำเมือง และเป็นหนึ่งใน 12 เมืองของเยอรมนีที่จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เกลเซนเคียร์เคิน หมวดหมู่:รัฐนอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลิน‎.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน

ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน

ประเทศเอกวาดอร์ มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ เก็ลเซินเคียร์เชิน มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (28 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเอกวาดอร์และเก็ลเซินเคียร์เชิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »