โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเวียดนามและยมหิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศเวียดนามและยมหิน

ประเทศเวียดนาม vs. ยมหิน

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก. มหิน เป็นต้นไม้ประจำจังหวัดแพร่ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานเพื่อปลูกเป็นต้นไม้ประจำจังหวัด ต้นยมหินมีความสูง 15-25 เมตร เปลือกมีสีน้ำตาลถึงน้ำตาลดำ เพื่อลำต้นมีอายุเพิ่มขึ้น เปลือกในสีแดงออกน้ำตาลชมพู แก่นไม้มีสีเหลืองเข้มถึงน้ำตาลแดง ใบของต้นยมหิน จะเป็นแบบขนนกปลายคี่ ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ใบแก่จะมีรูปร่างใบแบบรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ฐานใบกลมหรือมน ปลายใบแหลม ผลของต้นยมหิน เป็นแบบผลแห้งมีเปลือกแข็งสีน้ำตาลมีรูปทรงแบบไข่ ขนากยาวประมาณ 2.5-50 เซนติเมตร เมล็ดของต้นยมหิน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ สีน้ำตาล มีความยาวเป็นสองเท่าของความกว้าง ในแต่ละช่วงของผลจะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 60-100 เมล็ด การใช้ประโยชน์ เป็นไม้ที่เหมาะสำหรับงานที่ใช้ในที่ร่ม สามารถนำไปแปรรูปเป็นสินค้าได้ เช่น ทำเครื่องเรือน, ก่อสร้างบ้านเรือน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศเวียดนามและยมหิน

ประเทศเวียดนามและยมหิน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศเวียดนามและยมหิน

ประเทศเวียดนาม มี 227 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยมหิน มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (227 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเวียดนามและยมหิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »