เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน

ประเทศเยอรมนีตะวันออก vs. ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989. "อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กำแพงเบอร์ลินสหภาพโซเวียตสงครามเย็นเบอร์ลินตะวันออกเบอร์ลินตะวันตก

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน.

กำแพงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีตะวันออก · กำแพงเบอร์ลินและผมเป็นชาวเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสหภาพโซเวียต · ผมเป็นชาวเบอร์ลินและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสงครามเย็น · ผมเป็นชาวเบอร์ลินและสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันออก

อร์ลินตะวันออก ฤดูร้อน ค.ศ. 1989 เบอร์ลินตะวันออก เป็นชื่อที่เรียกส่วนตะวันออกของเบอร์ลินระหว่างปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ประกอบด้วยเขตเบอร์ลินใต้ปกครองของโซเวียตซึ่งก่อตั้งใน..

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันออก · ผมเป็นชาวเบอร์ลินและเบอร์ลินตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันตก

แสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ. 1949 ถึง ปี ค.ศ. 1990.

ประเทศเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันตก · ผมเป็นชาวเบอร์ลินและเบอร์ลินตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน

ประเทศเยอรมนีตะวันออก มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ ผมเป็นชาวเบอร์ลิน มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 14.29% = 5 / (24 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเยอรมนีตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: