เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน

ประเทศเซอร์เบีย vs. พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน

ซอร์เบีย (Serbia; Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (Republic of Serbia; Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก. ลต่านเบยาซิดที่ 2 ที่ตั้งแสดงอยู่ที่วัดเซนต์แมรีแห่งมองโกลในกรุงอิสตันบุลที่ประกาศอนุญาตให้ชุมชนกรีกเป็นเจ้าของสิ่งก่อสร้างดังกล่าว พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน (Firman) คือกฎหมาย หรือ ประกาศที่ออกโดยประมุขของรัฐอิสลามที่รวมทั้งจักรวรรดิออตโตมัน, จักรวรรดิโมกุล และ อิหร่านที่ใช้กันมาจนกระทั่งถึงสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของโมฮัมมัด เรซา ปาห์เลวี (Mohammed Reza Pahlavi) ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า “firman” มาจากภาษาเปอร์เซีย “فرمان” (farmân) ที่แปลว่า “ประกาศ” หรือ “กฎ” ในภาษาตุรกีมาแผลงเป็นคำว่า “ferman” ในสมัยการปกครองของจักรวรรดิออตโตมันสุลต่านมีอำนาจจากการเป็นผู้รักษากฎหมายชาริอะห์ แต่กฎหมายชาริอะห์มิได้ครอบคลุมในทุกกรณีที่เกี่ยวกับชีวิตทางสังคมและการเมือง ฉะนั้นในการสร้างกฎที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์และสถานะภาพต่างๆ ที่มิได้อยู่ในข่ายของชาริอะห์ สุลต่านจึงก่อตั้งการออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน” ขึ้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน

ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

จักรวรรดิออตโตมันและประเทศเซอร์เบีย · จักรวรรดิออตโตมันและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน

ประเทศเซอร์เบีย มี 45 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.92% = 1 / (45 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเซอร์เบียและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: