เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศสิงคโปร์

ดัชนี ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 127 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบริษัทอินเดียตะวันออกชวาช่องแคบสิงคโปร์พ.ศ. 2041พ.ศ. 2054พ.ศ. 2360พ.ศ. 2362พ.ศ. 2367พ.ศ. 2369พ.ศ. 2400พ.ศ. 2410พ.ศ. 2446พ.ศ. 2456พ.ศ. 2462พ.ศ. 2473พ.ศ. 2478พ.ศ. 2485พ.ศ. 2489พ.ศ. 2494พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2502พ.ศ. 2504พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2515พ.ศ. 2536พ.ศ. 2544พ.ศ. 2549พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พรรคกิจประชาชนการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการไม่มีศาสนาภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อภาษามลายูภาษาอังกฤษภาษาจีนกลางภาษาทมิฬมาจูละห์ ซีงาปูรามิถุนายนระบบสภาเดี่ยวระบบเวสต์มินสเตอร์รัฐมะละกา... ขยายดัชนี (77 มากกว่า) »

  2. นครรัฐ
  3. ประเทศที่ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาทางการ
  4. ประเทศในทวีปเอเชีย
  5. ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  6. รัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  7. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508
  8. สาธารณรัฐเครือจักรภพ
  9. เมืองชายฝั่ง
  10. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บริษัทอินเดียตะวันออก

ริษัทอินเดียตะวันออกอันทรงเกียรติ (Honourable East India Company) หรือในเวลาต่อมาคือ บริษัทอินเดียตะวันออกของบริเตน เป็นบริษัทร่วมทุนสัญชาติอังกฤษในช่วงแรก ซึ่งเดิมถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อแสวงหาการค้ากับภูมิภาคอินเดียตะวันออก แต่ในภายหลังได้ดำเนินการค้าส่วนใหญ่กับอนุทวีปอินเดียและจีน และยังมีหน้าที่ปกครองอาณานิคมในอนุทวีปอินเดีย บริษัทอินเดียตะวันออกถือได้ว่ามีความเก่าแก่ที่สุดเมื่อเทียบกับบริษัทอินเดียตะวันออกของชาติทวีปยุโรปอื่น ๆ เมื่อแรกก่อตั้ง บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1ให้เป็น "ข้าหลวงแลบริษัทพาณิชย์แห่งลอนดอนซึ่งจักทำการค้าไปยังอินเดียตะวันออก" เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ดู ประเทศสิงคโปร์และบริษัทอินเดียตะวันออก

ชวา

วา อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และชวา

ช่องแคบสิงคโปร์

ช่องแคบสิงคโปร์ ช่องแคบสิงคโปร์ (Singapore Strait) ยาวประมาณ 105 กิโลเมตร กว้าง 16 กิโลเมตร ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของสิงคโปร์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบมะละกา ทางใต้ติดประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:ประเทศสิงคโปร์ หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรอินเดีย หมวดหมู่:ช่องแคบในประเทศมาเลเซีย หมวดหมู่:ช่องแคบในประเทศอินโดนีเซีย.

ดู ประเทศสิงคโปร์และช่องแคบสิงคโปร์

พ.ศ. 2041

ทธศักราช 2041 ใกล้เคียงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2041

พ.ศ. 2054

ทธศักราช 2054 เทียบเคียงกั..

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2054

พ.ศ. 2360

ทธศักราช 2360 ใกล้เคียงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2360

พ.ศ. 2362

ทธศักราช 2362 ใกล้เคียงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2362

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2367

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2369

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2400

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2410

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2446

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2456

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2473

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2478

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2494

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2498

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2504

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2506

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2507

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2508

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2515

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2536

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2554

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพ.ศ. 2557

พรรคกิจประชาชน

พรรคกิจประชาชน (People’s Action Party- PAP) เป็นพรรครัฐบาลของประเทศสิงคโปร์ซึ่งได้ประกาศตั้งคณะกรรมการบริหารกลางของพรรคชุดใหม่เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ก่อตั้งประเทศ หลังคณะกรรมการฯ ชุดเก่า ที่ประกอบด้วยนักการเมืองคนสำคัญอย่าง ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew), โก๊ะ จก ตง (Goh Chok Tong) อดีตนายกรัฐมนตรีคนแรกและคนที่สองของสิงคโปร์ ตามลำดับ ก้าวลงจากตำแหน่งเมื่อ พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และพรรคกิจประชาชน

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ดู ประเทศสิงคโปร์และการไม่มีศาสนา

ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ

ีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014 ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ (purchasing power parity, PPP) หรือ ประสิทธิผลของเงิน เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เพื่อคำนวณหาระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริกาเป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงินดอลลาร์สหรั.

ดู ประเทศสิงคโปร์และภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และภาษามลายู

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู ประเทศสิงคโปร์และภาษาอังกฤษ

ภาษาจีนกลาง

ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.

ดู ประเทศสิงคโปร์และภาษาจีนกลาง

ภาษาทมิฬ

ษาทมิฬ (தமிழ்) เป็นหนึ่งใน ตระกูลภาษาดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และภาษาทมิฬ

มาจูละห์ ซีงาปูรา

ลงชาติสิงคโปร์ มีชื่อเฉพาะว่า มาจูละห์ ซีงาปูรา (Majulah Singapura) เป็นคำภาษามลายู แปลว่า สิงคโปร์จงรุดหน้า หรือจงเจริญ ชื่อของเพลงนี้มีที่มาจากคำขวัญประจำชาติ ซึ่งเป็นข้อความเดียวกันกับที่ปรากฏอยู่ในตราประจำรัฐ มีเนื้อหาของเพลงที่สะท้อนถึงจิตวิญญาณของชาวสิงคโปร์ในการคาดหวังอย่างอดทนถึงความก้าวหน้าของชาติ และเรียกร้องให้ทุกคนร่วมมือกันทำความหวังดังกล่าวให้เป็นความจริง เพลงนี้ขับร้องในภาษามลายู ซึ่งเป็นภาษาทางการ 1 ใน 4 ภาษาของประเทศสิงคโปร์ ชาวสิงคโปร์ที่ไม่ใช่คนเชื้อชาติมลายูนั้นสามารถร้องและเข้าใจเนื้อหาของเพลงชาติได้เช่นกัน แต่ต้องอาศัยคำแปลภาษาอังกฤษมาช่วยในการทำความเข้าในใจเพลงนี้.

ดู ประเทศสิงคโปร์และมาจูละห์ ซีงาปูรา

มิถุนายน

มิถุนายน เป็นเดือนที่ 6 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมิถุนายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมถุน และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกรกฎ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาววัวและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ ชื่อในภาษาอังกฤษ "June" มีที่มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า จูโน (Juno) ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมิถุนายนในปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และมิถุนายน

ระบบสภาเดี่ยว

ระบบสภาเดี่ยว (unicameralism) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติหรือรัฐสภาแห่งเดียว ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียวส่วนใหญ่เป็นประเทศเล็กและเป็นรัฐที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน จึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีสภาสูง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และระบบสภาเดี่ยว

ระบบเวสต์มินสเตอร์

ระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ระบบเวสมินสเตอร์ เป็นระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา ซึ่งยึดตามการเมืองสหราชอาณาจักร คำนี้มาจากพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อันเป็นที่ประชุมรัฐสภาสหราชอาณาจักร ระบบเวสมินสเตอร์ คือ ชุดวิธีดำเนินการสำหรับการดำเนินสภานิติบัญญัต.

ดู ประเทศสิงคโปร์และระบบเวสต์มินสเตอร์

รัฐมะละกา

มะละกา (Melaka; ยาวี: ملاك; Malacca) เป็นรัฐทางตอนใต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผู้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตกบนช่องแคบมะละกามากว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมโปรตุเกส ดัตช์ และมลายู ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกาจากองค์การยูเนสโก.

ดู ประเทศสิงคโปร์และรัฐมะละกา

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ดู ประเทศสิงคโปร์และรัฐปีนัง

ลัทธิเต๋า

ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู ประเทศสิงคโปร์และลัทธิเต๋า

ลี กวนยู

ลี กวนยู (李光耀; พินอิน: Lǐ Guāngyào, หลี่ กวงเย่า; 16 กันยายน พ.ศ. 2466 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป็นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่ เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเลขาธิการพรรคกิจประชาชน (People's Action Party) คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งตั้งแต่ปี 2502 ถึง 2533 และควบคุมการแยกสิงคโปร์จากประเทศมาเลเซียในปี 2508 และการแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้างด้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็นเสือเอเชีย "โลกที่หนึ่ง" ในกาลต่อมา เขาเป็นบุคคลการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในทวีปเอเชียคนหนึ่ง นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง โก๊ะ จ๊กตง แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 2533 เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีที่ปรึกษา ตั้งโดยบุตรของเขา ลี เซียนลุง เมื่อลี เซียนลุงเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สามของประเทศในเดือนสิงหาคม 2547 ด้วยตำแหน่งรัฐมนตรีติดต่อกันเป็นเวลากว่า 50 ปีของเขา ลียังเป็นรัฐมนตรีที่รับราชการนานที่สุดในประวัติศาสตร์คนหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ลีและโก๊ะประกาศเกษียณจากคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554 แต่ลียังเป็นสมาชิกรัฐสภา ลีถูกรับเข้าโรงพยาบาลด้วยโรคปอดบวมที่โรงพยาบาลสิงคโปร์ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ขณะติดเครื่องช่วยหายใจกล อาการของเขาเมื่อวันที่ 21 มีนาคมทรุดลงหลังป่วยอย่างหนักและเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม.

ดู ประเทศสิงคโปร์และลี กวนยู

ลี เซียนลุง

ลี เซียนลุง (จีนตัวย่อ: 李显龙; จีนตัวเต็ม: 李顯龍; พินอิน: Lǐ Xiǎnlóng, หลี่ เสี่ยนหลง) คือนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันและคนที่สามของประเทศสิงคโปร์ เขาเป็นบุตรชายคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวนยู และมีภรรยาเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ของบริษัทเทมาเส็กโฮลดิ้งส์ ลี เซียนลุง ฉายแววความฉลาด มาตั้งแต่ ยังเล็ก โดยสามารถพูด ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน ภาษารัสเซีย ได้ ในขณะที่มีอายุเพียง 10 ปี พอจบชั้นมัธยม ก็ได้รับทุนจาก รัฐบาล ไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในสาขาคณิตศาสตร์ และจบปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากนั้น ลี ก็ไปต่อโทที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ลี เซียนลุงนั้น มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย อย่างแท้จริง ในตอนสมัครเข้าเป็น..

ดู ประเทศสิงคโปร์และลี เซียนลุง

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศาสนาพุทธ

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศาสนาอิสลาม

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศาสนาฮินดู

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศาสนาคริสต์

ศตวรรษที่ 14

ตวรรษที่ 14 อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศตวรรษที่ 14

ศตวรรษที่ 15

ตวรรษที่ 15 อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศตวรรษที่ 15

ศตวรรษที่ 17

ตวรรษที่ 17 อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศตวรรษที่ 17

ศตวรรษที่ 18

ตวรรษที่ 18 อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และศตวรรษที่ 18

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสภานิติบัญญัติ

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสยาม

สวนนกจูรง

ป้ายสัญลักษณ์ทางเข้า หงส์ในทะเลสาบภายใน สวนนกจูรง (Jurong Birdpark; 裕廊飞禽公园) เป็นสวนสัตว์ในแบบสวนนกขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่รวม 126 ไร่ (202,000 ตารางเมตร) ในเขตจูรง ประเทศสิงคโปร์ ภายใต้แนวคิดการแสดงแบบเปิดกว้างขนาดใหญ่ สวนนกขนาดใหญ่ 4 กรงที่นักท่องเที่ยวเดินชมได้ มีนกจากภูมิภาคต่างๆเช่นเอเชียอาคเนย์ แอฟริกา ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้ จุดเด่นของสวนเช่น การแสดงการให้อาหารนกกระทุงใต้น้ำครั้งแรกของโลก ที่สวนนกกระทุง (Pelican Cove), สวนนกแก้วลอรี่ขนาดใหญ่ที่สุด ที่สวนนกลอรี่โลฟ (Lory Loft), น้ำตกที่มนุษย์สร้างขึ้นที่สูงที่สุดของโลก และมีศูนย์เก็บรักษาผีเสื้อสกุลเฮลิโคเนียแห่งแรกของเอเชีย เป็นต้น สวนนกจูรงเปิดบริการตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม ค.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสวนนกจูรง

สหพันธรัฐมาลายา

หพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya; Persekutuan Tanah Melayu) เป็นสหพันธรัฐที่จัดตั้งขึ้นจากรัฐมลายูและดินแดนต่าง ๆ รวม 11 รัฐ ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสหพันธรัฐมาลายา

สหภาพมาลายา

หภาพมาลายา เป็นสหพันธ์ของกลุ่มรัฐมลายูและอาณานิคมช่องแคบรวมทั้งสิงคโปร์ ซึ่งสืบทอดมาจากกลุ่มอาณานิคมบริติชมาลายา สหภาพแห่งนี้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อรวมศูนย์การปกครองของรัฐต่าง ๆ ที่อยู่บนคาบสมุทรมลายูให้อยู่ภายใต้รัฐบาลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความสะดวกในการบริหารจัดการ สหภาพมาลายาเป็นรูปแบบการปกครองที่อังกฤษเสนอขึ้นเพื่อใช้ปกครองดินแดนมลายูที่เป็นอาณานิคมภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยในแผนการสหภาพมาลายานั้นมีส่วนสำคัญคือ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสหภาพมาลายา

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู ประเทศสิงคโปร์และสหรัฐ

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสหราชอาณาจักร

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสารานุกรมบริตานิกา

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสาธารณรัฐ

สิงคโปร์แอร์ไลน์

อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสิงคโปร์แอร์ไลน์

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสิงโต

สุลต่านฮุสเซน ชาห์แห่งยะโฮร์

ลต่านฮุสเซียน มูอัสซาม ชาห์ อิบนี มะห์มูด ชาห์ อะลาม (พ.ศ. 2319 – 5 กันยายน พ.ศ. 2378) เป็นสุลต่านองค์ที่ 18 แห่งยะโฮร์-รีเยา พระองค์เป็นที่จดจำในการลงนามมอบดินแดนให้อังกฤษ ซึ่งเป็นที่มาของการก่อตั้งสิงคโปร์สมัยใหม่ระหว่างที่พระองค์เป็นสุลต่านแห่งยะโฮร์และสิงคโปร์ใน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสุลต่านฮุสเซน ชาห์แห่งยะโฮร์

สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์

ลต่านแห่งรัฐยะโฮร์ เริ่มต้นเมื่อปี..1511 สุลต่านองค์ปัจจุบันคือ สุลต่านอิบราฮิม อิสมาอิล ขึ้นครองราชย์เมื่อปี..2010 หรือ..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์

สี่เสือแห่งเอเชีย

แผนที่ของสี่เสือแห่งเอเชีย สี่เสือแห่งเอเชีย (Four Asian Tigers) หรือมังกรเอเชียเป็นคำที่ใช้อ้างถึงเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างรวดเร็วของฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้และไต้หวัน ประเทศหรือบริเวณเหล่านี้เป็นบริเวณที่มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง (มากกว่า 7% ต่อปี)และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วระหว่าง..

ดู ประเทศสิงคโปร์และสี่เสือแห่งเอเชีย

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสถาปัตยกรรม

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ประเทศสิงคโปร์และสงครามโลกครั้งที่สอง

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และหมู่เกาะเรียว

อำนาจอธิปไตย

อำนาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตย ย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง ตัวอย่างเช่น ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นต้น อนึ่ง อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้.

ดู ประเทศสิงคโปร์และอำนาจอธิปไตย

ฮาลีมะฮ์ ยากบ

ลีมะฮ์ ยากบ (Halimah Yacob; ยาวี: حاليمه بنت ياچوب, เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนที่แปดและคนปัจจุบันของสิงคโปร์มีเชื้อสายมาเลย์ และ อินเดีย  แต่งงานกับ โมฮัมเหม็ดอับดุลลาห์ (Alhabshee) ซึ่งมีเชื้อสายอาหรับ มีบุตร 5 คน “มาดามฮาลิมะฮ์” จบการศึกษาจาก โรงเรียน Tanjong Katong Girls ‘School และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ระดับ LLB (Hons) จบปริญญา LLM ที่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก NUS ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กฎหมายที่ สภาสหภาพแห่งชาติสหภาพการค้า และเป็นผู้อำนวยการแผนกบริการทางกฎหมายในได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการสถาบันแรงงานแห่งประเทศสิงคโปร์ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของสถาบันแรงงานศึกษา ทงจง) “มาดามฮาลิมะฮ์” เข้าสู่เส้นทางการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ พรรค PAP และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา โดยเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู ประเทศสิงคโปร์และฮาลีมะฮ์ ยากบ

ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น

accessdate.

ดู ประเทศสิงคโปร์และผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ประเทศสิงคโปร์และทวีปยุโรป

ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด

วนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-Aligned Movement; NAM) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่มีนโยบายว่าจะไม่เป็นพันธมิตรหรือต่อต้านกับขั้วอำนาจฝ่ายใด เป็นผลสืบเนื่องจากแนวคิดของชวาหระลาล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย, ญะมาล อับดุนนาศิร อดีตประธานาธิบดีของอียิปต์ และยอซีป บรอซ ตีโต ประธานาธิบดีของยูโกสลาเวีย ขบวนการนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ประเทศสิงคโปร์และขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด

ดอลลาร์สิงคโปร์

อลลาร์สิงคโปร์ เป็นสกุลเงินของประเทศสิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์ย่อด้วยเครื่องหมายดอลลาร์ $ หรือ S$ เพื่อแยกจากเงินสกุลดอลลาร์อื่น ๆ ดอลลาร์สิงคโปร์แบ่งได้เป็น 100 เซนต.

ดู ประเทศสิงคโปร์และดอลลาร์สิงคโปร์

ดาวน์ทาวน์คอร์

มุมมองทางอากาศของดาวน์ทาวน์คอร์ ดาวน์ทาวน์คอร์ (Downtown Core, 市中心; Pusat Bandar Kor; டவுன்டவுன் கோர்) เป็นเขตวางผังเมืองขนาด 266 เฮกตาร์ในพื้นที่ตอนกลาง (Central Area) ของนครรัฐสิงคโปร์ และเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และประวัติศาสตร์ ดาวน์ทาวน์คอร์มักมีชื่อที่เรียกขานกันว่าเป็นเมืองหลวงแห่งสิงคโปร์ เพราะในเขตนี้ประกอบไปด้วยสำนักงานใหญ่และสำนักงานบริษ้ทจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ อีกทั้งยังป็นที่ตั้งของสถาบันของรัฐหลายแห่ง เช่น อาคารรัฐสภา ศาลฎีกา ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของสิงคโปร์เริ่มขึ้นในเขตนี้ เมื่อเซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ และตัวแทนบริษัทอินเดียตะวันออกของบริเตนได้ร่วมกันจัดการที่ดินบริเวณปากแม่น้ำสิงคโปร์เพื่อจัดตั้งท่าเรือปลอดภาษีขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มีเมืองบริเวณริมฝั่งของปากแม่น้ำเติบโตและขยายออกไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นดาวน์ทาวน์คอร์ในปัจจุบัน ชื่อดาวน์ทาวน์คอร์นั้นยังคงไม่เป็นที่รู้จักโดยคนทั่วไป แต่มักใช้คำว่า "ย่านศูนย์กลางธุรกิจ" เป็นส่วนใหญ่ในการสนทนาแทนที่คำว่าดาวน์ทาวน์คอร์ แต่ในความเป็นจริงแล้วย่านศูนย์กลางธุรกิจของสิงคโปร์นั้นมีขนาดเล็กว่าและตั้งอยู่บริเวณทางด้านตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ในตัวเขตดาวน์ทาวน์คอร์เอง ซึ่งประกอบด้วยเขตย่อยทั้งหมด 7 เขต คือ Anson, Cecil, Clifford Pier, Maxwell, Phillip, Raffles Place และ Tanjong Pagar อีกทั้งยังมีพื้นที่ย่านธุรกิจที่ขยายกว้างออกจากขอบเขตข้างต้นมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ จึงนิยมใช้คำว่าย่านศูนกลางธุรกิจเพื่ออ้างถึงภาคกลางของสิงคโปร์ทั้งหมด หมวดหมู่:ประเทศสิงคโปร์.

ดู ประเทศสิงคโปร์และดาวน์ทาวน์คอร์

คริสต์

ริสต์ อาจหมายถึง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และคริสต์

คริสต์ศตวรรษที่ 17

ริสต์ศตวรรษที่ 17 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1601 ถึง ค.ศ. 1700.

ดู ประเทศสิงคโปร์และคริสต์ศตวรรษที่ 17

คริสต์ทศวรรษ 1990

คริสต์ทศวรรษ 1990 (1990s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1990 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 เป็นทศวรรษแรกที่ตามมาด้วยผลกระทบของการสิ้นสุดสงครามเย็น คริสต์ทศวรรษ 1990.

ดู ประเทศสิงคโปร์และคริสต์ทศวรรษ 1990

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

ดู ประเทศสิงคโปร์และคาบสมุทรมลายู

ประชาชน

ประชาชน ชน หรือราษฎรเป็นบุคคลหลายคนซึ่งถือเป็นทั้งหมด ดังในกลุ่มชาติพันธุ์หรือชาติ ตัวอย่างเช่น คนยิวเรียกรวม ๆ ว่า "ชนยิว" คนยิปซียุโรปประกอบเป็นส่วนใหญ่ของ "ชนโรมานี" และคนปาเลสไตน์เรียก "ชนปาเลสไตน์" หมวดหมู่:มนุษย์ หมวดหมู่:ประชาชน.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประชาชน

ประชากรศาสตร์สิงคโปร์

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น เมื่อปลายเดือนมิถุนายน 2012 ประชากรสิงคโปร์อยู่ที่ 5.31 ล้านคน เป็นรัฐเอกราชที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากโมนาโก สิงคโปร์เป็นประเทศหลายเชื้อชาติและหลายวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวลูกครึ่งจีน-มลายู (ร้อยละ 74.2) บางส่วนเป็นชาวมลายู (ร้อยละ 13.2) และชนกลุ่มน้อยชาวอินเดีย (ร้อยละ 9.2) ชาวมลายูถือเป็นชนพื้นเมือง แม้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สืบเชื้อสายของผู้อพยพหลังจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงปี 1945 จากประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซียhttp://www.unhcr.org/refworld/topic,463af2212,469f2f192,49749cb046,0.html ศาสนาพุทธนิกายมหายานเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุด แต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของประชากร โดยมีผู้นับถือศาสนาอิสลาม คริสต์ ฮินดู ซิกข์และไม่นับถือศาสนาเป็นจำนวนมาก อัตราการเติบโตของประชากรต่อปีของปี 2012 อยู่ที่ราว 2.5% Department of Statistics, Singapore.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประชากรศาสตร์สิงคโปร์

ประวัติศาสตร์สิงคโปร์

มื่อสิงคโปร์เห็นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมลายูกลายเป็นสหภาพมลายาทันที เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษอีก แต่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลเซียมากนักเพราะมีการเหยียดชนชาติกัน ทำให้พรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกราชตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประวัติศาสตร์สิงคโปร์

ประธานาธิบดี

ประธานาธิบดี (president) คือตำแหน่งประมุขหรือผู้นำของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งประธานาธิบดีจะได้รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันมีหลายประเทศที่มีประธานาธิบดีเป็นประม.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประธานาธิบดี

ประธานาธิบดีสิงคโปร์

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ของประเทศสิงคโปร์ ตามระบบเวสต์มินสเตอร์ ในแบบฉบับของสิงคโปร์ โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประมุขฝ่ายบริหารและหัวหน้ารัฐบาล ก่อนปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประธานาธิบดีสิงคโปร์

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศญี่ปุ่น

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศออสเตรเลีย

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศอังกฤษ

ประเทศอำนาจปานกลาง

ี 20 ประเทศอำนาจปานกลาง (middle power) หมายถึง รัฐซึ่งมีความสามารถที่จะแผ่อิทธิพลในระดับภูมิภาค ซึ่งแม้จะไม่ใช่ทั้งอภิมหาอำนาจหรือมหาอำนาจ แต่ก็มีความสามารถในการแผ่อิทธิพลในภูมิภาคของตนเอง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศอำนาจปานกลาง

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศโปรตุเกส

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ดู ประเทศสิงคโปร์และประเทศเนเธอร์แลนด์

ปาเล็มบัง

ปาเล็มบัง (Palembang) เป็นเมืองหลักของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝั่งตะวันออกทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำมูซี มีพื้นที่ 400.61 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1.44 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของเกาะสุมาตรา รองจากเมืองเมดันซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ปาเล็มบังได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสองเมืองหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 26 ระหว่างวันที่ 11 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และปาเล็มบัง

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์

นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารและหัวหน้ารัฐบาลของสิงคโปร์ แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมีมาตั้งแต..

ดู ประเทศสิงคโปร์และนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และนิคมช่องแคบ

นครรัฐ

โมนาโก ถือเป็นนครรัฐแห่งหนึ่ง นครรัฐ (city state) คือภูมิภาคที่ควบคุมโดยสมบูรณ์โดยเมืองเพียงเมืองเดียว ส่วนใหญ่จะมีเอกราช โดยประวัติศาสตร์แล้ว นครรัฐมักจะเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ใหญ่กว่า ดังเช่นนครรัฐในกรีกโบราณ (เช่น เอเธนส์ สปาร์ตา และโครินธ์) เมืองในเอเชียกลางตามเส้นทางสายไหม นครรัฐในอิตาลีเหนือ (โดยเฉพาะ ฟลอเรนซ์และเวนิซ) ปัจจุบันประเทศที่เป็นนครรัฐมีอยู่ทั้งหมด 3 ประเทศ คือ สาธารณรัฐสิงคโปร์, ราชรัฐโมนาโก และนครรัฐวาติกัน แต่บางแห่งก็ถูกจัดว่าเป็นนครรัฐด้วย อาทิ สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐซานมารีโนMogens, Hansen.

ดู ประเทศสิงคโปร์และนครรัฐ

โก๊ะ จ๊กตง

กว โจ๊กโตง (จีนตัวย่อ: 吴作栋; จีนตัวเต็ม: 吳作棟; พินอิน: Wú Zuòdòng, อู๋จั้วต้ง; ฮกเกี้ยน: Gô· Chok-tòng) คือนายกรัฐมนตรีคนที่สองของประเทศสิงคโปร์ ปัจจุบันเขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีอาวุโส ประธานธนาคารกลางสิงคโปร์ และประธานกองกษาปณ์สิงคโปร์ (Monetary Authority of Singapore: MAS).

ดู ประเทศสิงคโปร์และโก๊ะ จ๊กตง

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

โทนี ตัน เค็ง ยัม

ทนี ตัน เค็ง ยัม (Tony Tan Keng Yam;, เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483) เป็นประธานาธิบดีคนที่เจ็ดของประเทศสิงคโปร์ กระทั่งวันที่ 1 กรกฎาคม..

ดู ประเทศสิงคโปร์และโทนี ตัน เค็ง ยัม

เมอร์ไลออน

รูปปั้นสิงโตทะเลซึ่งอยู่ห่างไปจากที่เดิมเป็นระยะทาง 120 เมตร ติดกับ One Fullerton เมอร์ไลออน (Merlion; Singa-Laut ซีงา-ลาอุต; หยูเหว่ยซือ) ถูกออกแบบขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของคณะกรรมการการท่องเที่ยวของสิงคโปร์ (Singapore Tourism Board - STB) ในปี 1964 – รูปปั้นนี้มีหัวเป็นสิงโต ร่างเป็นปลา ยืนอยู่บนยอดคลื่น ต่อมาไม่นานทั่วโลกก็ถือกันว่าสิงโตทะเลตัวนี้คือเครื่องหมายประจำชาติสิงคโปร์ แต่เดิมรูปปั้นนี้ตั้งอยู่ที่สวนสิงโตทะเล (Merlion Park) ข้างสะพานเอสพลาเนด (Esplanade Bridge) แม่สิงโตและลูกสิงโตได้กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยว มีการจัดพิธีติดตั้งสิงโตทะเลในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และเมอร์ไลออน

เส้นศูนย์สูตร

้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร ลากผ่าน 13 ประเทศ และเป็นหนึ่งในละติจูด 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator).

ดู ประเทศสิงคโปร์และเส้นศูนย์สูตร

เอกราช

อกราช คือ ความเป็นอิสระในการปกครองตนเองของชาติหรือรัฐ มีอำนาจอธิปไตยไม่ถูกกดขี่ควบคุมทางการเมืองหรือเป็นอาณานิคมจากรัฐบาลภายนอก.

ดู ประเทศสิงคโปร์และเอกราช

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู ประเทศสิงคโปร์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เทมาเส็ก

ทมาเส็ก (อังกฤษ: Temasek; จีน: 淡马锡), หรือ 'เมืองทะเล' ในภาษาชวา (สะกด: Tumasik) น่าจะเคยเป็นชื่อของเมืองที่เคยตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นประเทศสิงคโปร์ในปัจจุบัน ชื่อนี้ถูกเปลี่ยนเป็น สิงหปุระ ('นครสิงโต' ในภาษาสันสกฤต) เมื่อราวตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อตอนที่ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ ชาวอังกฤษเดินทางมาถึงใน ค.ศ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และเทมาเส็ก

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ

รือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 52 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน..

ดู ประเทศสิงคโปร์และเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

เซ็นทรัลแอเรีย

เซ็นทรัลแอเรีย (Central Area) หรือย่านธุรกิจกลาง (Central Business District, ย่อ: CBD) ในประเทศสิงคโปร์ มีย่านการเงินและการพาณิชย์สำคัญ ซึ่งรวมถึงเขตวางผังเมืองสิบเอ็ดเขต เซ็นทรัลแอเรียเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ มีที่ดินมูลค่าสูงที่ถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยการริเริ่มวางผังเมืองขององค์การการพัฒนาเมือง (Urban Redevelopment Authority, URA) ภ.

ดู ประเทศสิงคโปร์และเซ็นทรัลแอเรีย

.sg

.sg เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศสิงคโปร์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2531.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ.sg

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ1 กันยายน

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ16 กันยายน

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ3 มิถุนายน

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ31 สิงหาคม

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ประเทศสิงคโปร์และ6 กุมภาพันธ์

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศสิงคโปร์และ9 สิงหาคม

ดูเพิ่มเติม

นครรัฐ

ประเทศที่ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาทางการ

ประเทศในทวีปเอเชีย

ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508

สาธารณรัฐเครือจักรภพ

เมืองชายฝั่ง

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Singaporeสาธารณรัฐสิงคโปร์สิงค์โปร์สิงคโปร์ประเทศสิงค์โปร์

รัฐปีนังลัทธิเต๋าลี กวนยูลี เซียนลุงศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูศาสนาคริสต์ศตวรรษที่ 14ศตวรรษที่ 15ศตวรรษที่ 17ศตวรรษที่ 18สภานิติบัญญัติสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สยามสวนนกจูรงสหพันธรัฐมาลายาสหภาพมาลายาสหรัฐสหราชอาณาจักรสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐสิงคโปร์แอร์ไลน์สิงโตสุลต่านฮุสเซน ชาห์แห่งยะโฮร์สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์สี่เสือแห่งเอเชียสถาปัตยกรรมสงครามโลกครั้งที่สองหมู่เกาะเรียวอำนาจอธิปไตยฮาลีมะฮ์ ยากบผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้นทวีปยุโรปขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดดอลลาร์สิงคโปร์ดาวน์ทาวน์คอร์คริสต์คริสต์ศตวรรษที่ 17คริสต์ทศวรรษ 1990ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกคาบสมุทรมลายูประชาชนประชากรศาสตร์สิงคโปร์ประวัติศาสตร์สิงคโปร์ประธานาธิบดีประธานาธิบดีสิงคโปร์ประเทศญี่ปุ่นประเทศมาเลเซียประเทศออสเตรเลียประเทศอังกฤษประเทศอำนาจปานกลางประเทศอินโดนีเซียประเทศโปรตุเกสประเทศเนเธอร์แลนด์ปาเล็มบังนายกรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์นิคมช่องแคบนครรัฐโก๊ะ จ๊กตงโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์โทนี ตัน เค็ง ยัมเมอร์ไลออนเส้นศูนย์สูตรเอกราชเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เทมาเส็กเครือจักรภพแห่งประชาชาติเซ็นทรัลแอเรีย.sg1 กันยายน16 กันยายน3 มิถุนายน31 สิงหาคม6 กุมภาพันธ์9 สิงหาคม