โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118 vs. พระเจ้านะระตู

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1118 ในประเทศพม. พระเจ้านราธู (Narathu) กษัตริย์แห่งราชวงศ์พุกาม ได้ชื่อว่าเป็นผู้โหดร้าย และเป็นจุดเริ่มต้นความเสื่อมของอาณาจักรพุกาม มีพระนามที่เป็นที่รู้จักอีกพระนามหนึ่งว่า "อิมตอวสยัน" (Im Taw Syan) ที่ได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์จอมโหด เนื่องจากทรงลอบปลงพระชนม์พระบิดา คือ พระเจ้าอลองสิธูและพระเชษฐาเพื่อขึ้นครองราชย์ และเมื่อขึ้นครองราชย์แล้วก็ยังได้ประหารอีกหลายคนที่ทรงหวาดระแวง เช่น มเหสีของพระองค์ ซึ่งตามตำนานเล่าว่าเป็นธิดาของกษัตริย์ลังกา ในช่วงสมัยนี้พุกามยังขัดขวางการค้าช้างระหว่าง เขมร กับลังกา ผ่านการควบคุมการค้าข้ามบริเวณเมาะตะมะและคอคอดกระ ที่พุกามได้ควบคุมไว้ตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าอลองสิธู พระเจ้าปรากรมพาหุที่ 1 แห่งลังกา จึงยกทัพเรือมาโจมตีเมืองพะสิมที่ปากแม่น้ำอิระวดี และล่องเรือขึ้นมาถึงอาณาจักรพุกามจนสามารถจับพระเจ้านราธูและประหารชีวิตพระองค์ในที่สุด พระเจ้านราธูครองราชย์อยู่เป็นระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 4 ปี (พ.ศ. 1710 - พ.ศ. 1714) ชาวพม่าในสมัยหลังจึงเรียกพระองค์ว่า "กุลากยา" (Kula-Kya) ซึ่งแปลว่า กษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์โดยชาวอินเดีย (กุลา แปลว่าชาวอินเดีย แต่ในที่นี้หมายรวมถึงลังกาด้วย) หลังรัชสมัยของพระเจ้านราธูประวัติศาสตร์พุกามมีความสับสนมาก นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าเป็นช่วงที่ไม่มีกษัตริย์ปกครองเป็นเวลา 9 ปี คือระหว่าง พ.ศ. 1708 - พ.ศ. 1717 แต่ยังมีหลักฐานบางส่วนที่กล่าวถึงกษัตริย์ที่ปกครองพุกามองค์ต่อมา ทรงพระนามว่า พระเจ้านรเถขะ (Naratheinkha) ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้านราธู หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พุกาม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118 มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเจ้านะระตู มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1118และพระเจ้านะระตู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »