โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศพม่าและเขตมะเกว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศพม่าและเขตมะเกว

ประเทศพม่า vs. เขตมะเกว

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน.. ตมาเกว (မကွေးတိုင်းဒေသကြီး) คือเขตการปกครองแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศพม่าและเขตมะเกว

ประเทศพม่าและเขตมะเกว มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวชินชาวพม่าชาวกะเหรี่ยงภาษาพม่ายะไข่รัฐชินรัฐยะไข่ศาสนาพุทธไทใหญ่เขตพะโคเขตมัณฑะเลย์เขตซะไกง์

ชาวชิน

น (ခ္ယင္‌လူမ္ယုိး; MLCTS: hkyang lu. myui) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า โดยในชาวชินจำนวนนี้สามารถจำแยกได้เป็น 32 กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มก็จะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป และจะมีพิธีการสักบนใบหน้าของหญิงสาวซึ่งแต่ละกลุ่มจะใช้สีที่ต่างกัน เช่น สีดำ สีกรมท่า หรือรูปนกบนหน้าผาก จะเป็นลายเฉพาะกลุ่มซึ่งในกลุ่มเดียวกันก็จะมีลวดลายเดียวกัน โดยการสักบนใบหน้าของหญิงชาวชินจะสักบนใบหน้าเพื่ออำพรางความงามของตน เพราะคนโบราณเล่าต่อกันมาว่า ในอดีตหญิงสาวชาวชินมีความสวยต้องตาต้องใจคนต่างถิ่นเป็นอย่างมาก ไม่เว้นแม้กระทั่งเจ้าเมืองกษัตริย์พม่าที่มักจะจับตัวสาวชาวชินไปเป็นภรรยาและทาสรับใช้ ผู้นำชนเผ่าจึงสั่งให้หญิงสาวชินสักใบหน้าเพื่ออำพรางความงามตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นช่วงอายุประมาณ 12-13 ปี ซึ่งต้องให้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นผู้สักให้ โดยจะสักต่อเนื่องไปเรื่อยจนเสร็จ ปกติแล้วใช้เวลาถึง 2 วัน จะพักแค่ตอนรับประทาน อาหารเท่านั้น เด็กสาวแทบทุกคนนอนร้องไห้ด้วยความเจ็บปวดตลอดการสัก กินอะไรไม่ได้และลืมตาไม่ได้เพราะมีอาการบวม บางคนที่รอยสักจางหรือลายไม่ขึ้นต้องมาสักซ้ำอีกครั้งสองครั้ง หรือจนกว่าสีจะเข้ม แต่ปัจจุบัน วัฒนธรรมการสักใบหน้าหลงเหลืออยู่แค่ในหมู่บ้านชนบทในป่าเขาห่างไกลเพียงไม่กี่แห่ง ส่วนพื้นที่อื่นไม่นิยมสักกันแล้ว เนื่องจากไม่มีใครมาจับตัวหญิงชาวชินไปเหมือนแต่ก่อน จึงไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเฉพาะหมอสักใบหน้าที่มีฝีมือต่างล้มหายตายจากกันไปเกือบหมด อย่างในละแวกนี้ถ้าใครอยากสักก็ไม่มีคนสักให้ เพราะหมอสักเสียชีวิตกันไปหมดแล้ว นอกจากนี้ ครั้งหนึ่งรัฐบาลทหารพม่าได้สั่งห้ามหญิงชาวชินสักใบหน้าเพราะเห็นเป็นเรื่องป่าเถื่อน ชาวบ้านก็เลยไม่กล้าสัก แต่อย่างไรก็ตามรัฐบาลพม่าในปัจจุบันเองก็ต้องการให้หญิงชาวชินที่สักใบหน้ากลุ่มดังกล่าวเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวมายังพม.

ชาวชินและประเทศพม่า · ชาวชินและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวพม่า

ม่า (บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า พบมากในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน.

ชาวพม่าและประเทศพม่า · ชาวพม่าและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวกะเหรี่ยง

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร.

ชาวกะเหรี่ยงและประเทศพม่า · ชาวกะเหรี่ยงและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ประเทศพม่าและภาษาพม่า · ภาษาพม่าและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ประเทศพม่าและยะไข่ · ยะไข่และเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชิน

รัฐชิน (ချင်းပြည်နယ်) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที.

ประเทศพม่าและรัฐชิน · รัฐชินและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

ประเทศพม่าและรัฐยะไข่ · รัฐยะไข่และเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ประเทศพม่าและศาสนาพุทธ · ศาสนาพุทธและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ประเทศพม่าและไทใหญ่ · เขตมะเกวและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ประเทศพม่าและเขตพะโค · เขตพะโคและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ประเทศพม่าและเขตมัณฑะเลย์ · เขตมะเกวและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตซะไกง์

ตซะไกง์ (စစ်ကိုင်းတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ระหว่างละติจูด 21° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 97' ตะวันออก มีพื้นที่ 93,527 ตารางกิโลเมตร และประชากรกว่า 5,300,000 คน (พ.ศ. 2539) เมืองหลวงคือเมืองซะไกง.

ประเทศพม่าและเขตซะไกง์ · เขตซะไกง์และเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศพม่าและเขตมะเกว

ประเทศพม่า มี 239 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตมะเกว มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 4.71% = 12 / (239 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศพม่าและเขตมะเกว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »