ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทไก
ประเทศญี่ปุ่นและโทไก มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูบุภูมิภาคของญี่ปุ่นมหาสมุทรแปซิฟิกยุคเอะโดะจังหวัดชิซูโอกะจังหวัดกิฟุจังหวัดมิเอะจังหวัดไอจิเกาะฮนชูเวลามาตรฐานญี่ปุ่น
ชูบุ
ตชูบุของญี่ปุ่น ภูเขาฟูจิ สถานที่ที่สำคัญแห่งหนึ่งในชูบุ ชูบุ เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ จุดเด่นของภาคชูบุก็คือ ถึงแม้ทั้ง 9 จังหวัดจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน โดย 4 จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทะยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง ชูบุ ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 21 ล้านคนใน 9 จังหวัด ซึ่งถึงแม้ว่าจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ในเขตโฮะกุริกุ ประกอบไปด้วยสี่จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง พื้นที่สูงตอนกลางประกอบไปด้วยจังหวัดนะงะโนะ กิฟุ และยะมะนะชิ ดินแดนแห่งเทือกเขาสูงทอดตัวเป็นแนวยาวไม่รู้จบ ที่ตั้งของเจแปนแอลป์หรือที่รู้จักกันดีว่าเป็นหลังคาของญี่ปุ่น เป็นเมืองตากอากาศบนเขาและแหล่งเล่นสกียอดนิยมแห่งหนึ่ง บนภูเขาอากาศหนาวเย็นตลอดปี ในฤดูร้อนบนเขามีแสงแดดอบอุ่น แต่ในขณะที่ทางเชิงเขาอากาศร้อนชื้น พื้นที่ทางตอนล่างประกอบไปด้วยจังหวัดไอจิและชิซุโอะกะ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีภูมิอากาศอบอุ่นสบาย มีชื่อเสียงเลื่องลือ ในด้านการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ที่เมืองนะโงะยะ จังหวัดไอจิ และภูเขาไฟฟูจิ ภูเขาไฟที่สูงที่สุดและเป็นสัญญลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างเขตจังหวัดชิซุโอะกะและยะมะน.
ชูบุและประเทศญี่ปุ่น · ชูบุและโทไก ·
ภูมิภาคของญี่ปุ่น
ูมิภาคในประเทศญี่ปุ่น มิได้มีสถานะเป็นหน่วยการปกครองอย่างเป็นทางการ แต่มีการใช้สืบเนื่องกันมาเป็นแผนกหนึ่งในการจำแนกพื้นที่ของประเทศญี่ปุ่นไปตามแต่บริบท ยกตัวอย่างเช่น แผนที่และตำราภูมิศาสตร์ในญี่ปุ่นจะแบ่งเป็นแปดภูมิภาค, การรายงานสภาพอากาศมักจะรายงานตามภูมิภาค ตลอดจน หน่วยธุรกิจและสถาบันการศึกษาจำนวนมากก็ใช้ชื่อภูมิภาคของเขาเป็นส่วนหนึ่งของชื่อองค์กร จากเหนือจรดใต้ ภูมิภาคตามจารีตของญี่ปุ่นประกอบด้ว.
ประเทศญี่ปุ่นและภูมิภาคของญี่ปุ่น · ภูมิภาคของญี่ปุ่นและโทไก ·
มหาสมุทรแปซิฟิก
มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.
ประเทศญี่ปุ่นและมหาสมุทรแปซิฟิก · มหาสมุทรแปซิฟิกและโทไก ·
ยุคเอะโดะ
อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..
ประเทศญี่ปุ่นและยุคเอะโดะ · ยุคเอะโดะและโทไก ·
จังหวัดชิซูโอกะ
ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.
จังหวัดชิซูโอกะและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดชิซูโอกะและโทไก ·
จังหวัดกิฟุ
ังหวัดกิฟุ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในบริเวณภูมิภาคจูบุบนเกาะฮนชู โดยเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในใจกลางของประเทศญี่ปุ่น.
จังหวัดกิฟุและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดกิฟุและโทไก ·
จังหวัดมิเอะ
ังหวัดมิเอะ เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคคิงกิบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น เมืองเอกคือเมืองทสึ.
จังหวัดมิเอะและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดมิเอะและโทไก ·
จังหวัดไอจิ
ังหวัดไอจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภูมิภาคจูบุ ประเทศญี่ปุ่น เมืองศูนย์กลางคือ นาโง.
จังหวัดไอจิและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดไอจิและโทไก ·
เกาะฮนชู
นชู (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของประเทศญี่ปุ่น มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่าเกาะอังกฤษเล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะGeography of the World. Dorling kindersley: London, 2003.
ประเทศญี่ปุ่นและเกาะฮนชู · เกาะฮนชูและโทไก ·
เวลามาตรฐานญี่ปุ่น
วลามาตรฐานญี่ปุ่น (JST; 日本標準時 หรือ 中央標準時) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น และเร็วกว่า UTC 9 ชั่วโมง ยกตัวอย่างเช่น หาก UTC เป็นเวลาเที่ยงคืน (00:00) ประเทศญี่ปุ่นจะเป็นเวลา 09:00 ประเทศญี่ปุ่นไม่มีการใช้เวลาออมแสง ถึงแม้ว่าระหว่างปี..
ประเทศญี่ปุ่นและเวลามาตรฐานญี่ปุ่น · เวลามาตรฐานญี่ปุ่นและโทไก ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ประเทศญี่ปุ่นและโทไก มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทไก
การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทไก
ประเทศญี่ปุ่น มี 366 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทไก มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 2.63% = 10 / (366 + 14)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทไก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: