โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ vs. เอเชียนบีชเกมส์ 2014

รณรัฐประชาชนจีน ได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งแรกในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 7 ณ กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับเหรียญรางวัลครั้งแรกนับตั้งแต่เข้าร่วม โดยได้อันดับ 3 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 7 อันดับ 2 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 8 ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และอันดับ 1 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก และได้มา 9 ครั้งติดต่อกัน จนถึงเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 17 ณ เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้. อเชียนบีชเกมส์ 2014 (2014 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 4 จะมีการจัดขึ้นที่เกาะภูเก็ต ประเทศไทย ซึ่งการแข่งขันได้กำหนดไว้ที่เกาะโบราไค จังหวัดอักลัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ได้รับผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงเจ้าภาพจากทาง OCA ซึ่งไปซ้อนในปีเดียวกันกับเอเชียนเกมส์ 2014 การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งที่เจ็ดสำหรับประเทศไทยในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันระดับเอเชีย ภายหลังจากที่กรุงเทพ ได้จัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ไปแล้วสี่ครั้ง (ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998), เอเชียนอินดอร์เกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2005) และเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2009) อย่างไรก็ตาม มหกรรมกีฬานี้จะถือเป็นรายการแรกที่ไม่ได้จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014 มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ประเทศจีนประเทศไทยเอเชียนบีชเกมส์เอเชียนบีชเกมส์ 2012เอเชียนบีชเกมส์ 2016เอเชียนอินดอร์เกมส์เอเชียนอินดอร์เกมส์ 2005เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1966เอเชียนเกมส์ 1970เอเชียนเกมส์ 1978เอเชียนเกมส์ 1998เอเชียนเกมส์ 2014

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ประเทศจีนและประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ · ประเทศจีนและเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และประเทศไทย · ประเทศไทยและเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์

อเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 1 เป็นกีฬาชายหาดระดับทวีปเอเชีย จัดโดยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย โดยครั้งแรกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-26 ตุลาคม..

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ · เอเชียนบีชเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2012

อเชียนบีชเกมส์ 2012 (2012 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่ ไห่หยาง ประเทศจีน.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2012 · เอเชียนบีชเกมส์ 2012และเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2016

อเชียนบีชเกมส์ 2016 (2016 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขันเอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งที่สองสำหรับประเทศเวียดนามในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันระดับเอเชีย ภายหลังจากที่ฮานอย ได้จัดมหกรรมกีฬาเอเชียนอินดอร์เกมส์หนึ่งครั้ง(ค.ศ. 2009) และ ซีเกมส์หนึ่งครั้ง(ค.ศ. 2003) อย่างไรก็ตาม มหกรรมกีฬานี้จะถือเป็นรายการแรกที่ไม่ได้จัดขึ้นที่ฮานอ.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2016 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนบีชเกมส์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนอินดอร์เกมส์

การแข่งขันกีฬาในร่มแห่งเอเชีย หรือ เอเชียนอินดอร์เกมส์ เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดในระดับทวีปเอเชีย จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี โดยมีการจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี..

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนอินดอร์เกมส์ · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนอินดอร์เกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนอินดอร์เกมส์ 2005

อเชียนเกมส์อินดอร์เกมส์ 2005 เป็นการจัดกีฬาเอเชียนอินดอร์เกมส์ครั้งที่แรก จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 37 ประเทศ และ มีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนอินดอร์เกมส์ 2005 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนอินดอร์เกมส์ 2005 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1966

อเชียนเกมส์ 1966 การแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม 2509 กีฬาที่แข่งขันมี 14 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินตัน บาสเก็ตบอล มวย จักรยาน ฟุตบอล ฮอกกี้ ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส ยกน้ำหนัก วอลเลย์บอล มวยปล้ำ และมีการสาธิตกีฬาซอร์ฟบอล ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันมี 19 ประเทศ รวมส่งนักกีฬาทั้งหมด 1,945 คน เป็นชาย 1,569 คน หญิง 376 คน.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1966 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ 1966 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1970

อเชียนเกมส์ 1970 เป็นการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 6 ตามกำหนดเดิม เกาหลีรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จนกระทั่งปี 2512 ซึ่งเหลือเวลาอีก 1 ปี จะถึงกำหนดการแข่งขัน เกาหลีเจ้าภาพเกิดเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเกิดสงครามระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ทำให้ไม่สามารถจะเป็นเจ้าภาพได้จึงขอถอนตัวแต่เพื่อมิให้การแข่งขันครั้งนี้ต้องยกเลิกไป เกาหลีจึงยินดีหาเงินให้กับประเทศที่จะรับเป็นเจ้าภาพเป็นเงินทั้งสิ้น 8 ล้านบาท คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จึงได้เปิดประชุมอย่างเร่งด่วน ครั้งแรกในที่ประชุมมีมติให้ญี่ปุ่นรับจัดแทนเกาหลี แต่ญี่ปุ่นปฏิเสธเพราะกำลังจัดงานเอ็กซ์โป 1970 อยู่ แต่ยินดีที่จะช่วยสมทบทุนแก่ประเทศที่จะรับเป็นเจ้าภาพแทน.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1970 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ 1970 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1978

อเชียนเกมส์ 1978 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 8 ประเทศไทยจำต้องเป็นเจ้าภาพอีกวาระหนึ่งเพราะปากีสถานซึ่งได้รับมอบหมายจากที่ประชุมมนตรีสหพันธ์ฯ ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งนี้ได้แจ้งไปยังสหพันธ์ว่าไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ เนื่องจากปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจภายในประเทศและภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นเหตุให้ขาดดุลทางการเงิน นายอาลี ภูตโต นายกรัฐมนตรีปากีสถานในขณะนั้น ได้สั่งระงับการเป็นเจ้าภาพจัด การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 ผลจากการที่ปากีสถานขอคืนความเป็นเจ้าภาพจึงได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ขึ้นในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิคครั้งที่ 21 ณ ประเทศแคนาดา เพื่อหาประเทศเจ้าภาพแทนปากีสถานและที่ประชุมได้มีมติขอร้องให้ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพอีกครั้ง โดยสมาชิกสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งสิ้นสำหรับการเป็นเจ้าภาพ ยกเว้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งนักกีฬาไทยเข้าร่วมแข่งขัน ประเทศไทยจึงรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2521 การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระมหากรุณาทรงรับการแข่งขันครั้งนี้ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ การแข่งขันครั้งนี้ กีฬาที่แข่งขันมี 19 ชนิด คือ กรีฑา ยิงธนู แบดมินตัน บาสเกตบอล มวย โบว์ลิ่ง จักรยาน ฟุตบอล ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก มวยปล้ำ และเรือใบ ส่วนประเทศที่เข้าแข่งขันมี 25 ประเทศ (สำหรับอิสราเอลนั้น คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ได้ขอร้องมิให้ประเทศอิสราเอลส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันครั้งนี้ เพื่อลดค่ารักษาความปลอดภัย แต่ก็ยังถือว่าประเทศอิสราเอลยังคงเป็นสมาชิกอยู่) นักกีฬาที่เข้าแข่งขันครั้งนี้มี 2,863 คน เป็นชาย 2,318 คน หญิง 454 คน ประเทศที่ไม่ได้รับเหรียญรางวัลเลยได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย เนปาล บาห์เรน บังคลาเทศ กาตาร์ สหสาธารณรัฐอาหรั.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1998

อเชียนเกมส์ 1998 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 6 ธันวาคม ถึง 20 ธันวาคม พ.ศ. 2541 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 41 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 36 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต ศูนย์กีฬาหัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย และ ศูนย์กีฬาเมืองทองธานี มาสคอตของการแข่งขันครั้งนี้ คือ ช้าง ไชโย และมีคำขวัญว่า Friendship beyond Frontiers หรือ มิตรภาพไร้พรมแดน.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1998 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 2014

อเชียนเกมส์ 2014 เป็นการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 19 กันยายน – 4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ที่เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ เมืองอินช็อนสามารถเอาชนะคะแนนเสียงกรุงนิวเดลีของอินเดีย และได้รับเป็นเจ้าภาพการแข่งขันในครั้งนี้ เมื่อ 17 เมษายน พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ อินช็อนถือว่าเป็นเมืองที่สามของเกาหลีใต้ที่ได้จัดกีฬาเอเชียนเกมส์ นับตั้งแต่กรุงโซลเมื่อปี..

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 2014 · เอเชียนบีชเกมส์ 2014และเอเชียนเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอเชียนบีชเกมส์ 2014 มี 35 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 14.29% = 13 / (56 + 35)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »