เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ

ประวัติศาสตร์ไทย vs. ผู้เผด็จการ

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ.. ผู้เผด็จการ (dictator) เป็นผู้ปกครอง (คือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรืออัตตาธิปไตย) ที่มีอำนาจเบ็ดเสร็จแต่เพียงผู้เดียว (ซึ่งอาจรวมถึงการควบคุมทางทหารหรือสินบน แต่ไม่จำเป็นเสมอไป) แต่ไม่ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในวงศาคณาญาติ อย่างสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เมื่อรัฐอื่นเรียกประมุขแห่งรัฐใดรัฐหนึ่งว่า ผู้เผด็จการ รัฐนั้นจะถูกเรียกว่า เผด็จการ คำนี้กำเนิดขึ้นเป็นตำแหน่งของฝ่ายปกครองในโรมโบราณที่ถูกแต่งตั้งโดยวุฒิสภา เพื่อปกครองสาธารณรัฐในยามฉุกเฉิน (ดูเพิ่มที่ ผู้เผด็จการโรมัน) โดยทั่วไป การใช้คำว่า "ผู้เผด็จการ" สมัยใหม่มักใช้อธิบายผู้นำที่ถือ และ/หรือ ละเมิดอำนาจจากบุคคลเกินธรรมดา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อำนาจที่จะออกกฎหมายโดยไม่มีการจำกัดจากสภานิติบัญญัติ เผด็จการมักเข้าลักษณะดังต่อไปนี้ การเลื่อนการเลือกตั้งและยกเลิกเสรีภาพพลเมือง การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน การปกครองโดยกฤษฎีกา การปราบปรามคู่แข่งทางการเมืองโดยไม่อาศัยกระบวนการนิติธรรม รวมทั้งรัฐพรรคการเมืองเดียวและลัทธิบูชาบุคคล ผู้นำทั้งหลายที่เถลิงอำนาจในหลากหลายระบอบ เช่น เผด็จการทหาร รัฐพรรคการเมืองเดียว และรัฐบาลพลเรือนที่อยู่ภายใต้การปกครองส่วนตัว ถูกเรียกว่าเป็น ผู้เผด็จการ ทั้งนี้ พวกเขาอาจมีมุมมองทางการเมืองเป็นฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายขวา หรืออาจเป็นกลางทางการเมืองก็ได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ

ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ประวัติศาสตร์ไทยและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ผู้เผด็จการและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ

ประวัติศาสตร์ไทย มี 116 ความสัมพันธ์ขณะที่ ผู้เผด็จการ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.79% = 1 / (116 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประวัติศาสตร์ไทยและผู้เผด็จการ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: