ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2103พ.ศ. 2105พ.ศ. 2118พ.ศ. 2127พ.ศ. 2131พ.ศ. 2136พ.ศ. 2141พระราชกฤษฎีกานองซ์พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์วาลัวอูเกอโนต์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศเยอรมนีแคทเธอรีน เดอ เมดีชี
พ.ศ. 2103
ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2103 · พ.ศ. 2103และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2105
ทธศักราช 2105 ใกล้เคียงกั..
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2105 · พ.ศ. 2105และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2118
ทธศักราช 2118 ใกล้เคียงกั.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2118 · พ.ศ. 2118และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2127
ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2127 · พ.ศ. 2127และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2131
ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2131 · พ.ศ. 2131และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2136
ทธศักราช 2136 ใกล้เคียงกั.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2136 · พ.ศ. 2136และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พ.ศ. 2141
ทธศักราช 2141 ใกล้เคียงกั.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2141 · พ.ศ. 2141และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระราชกฤษฎีกานองซ์
ระราชกฤษฎีกานองซ์เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1598 พระราชกฤษฎีกานองซ์ (Édit de Nantes; Edict of Nantes) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน..
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระราชกฤษฎีกานองซ์ · พระราชกฤษฎีกานองซ์และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส (Charles IX of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 พระเจ้าชาร์ลที่ 9 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 ที่พระราชวังแซงต์-แชร์แม็ง-ออง-เลย์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ทรงเสกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย และมีพระราชธิดาพระองค์เดียวกับเอลิซาเบธมารี เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ พระเจ้าชาร์ลทระเป็นพระอนุชาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 และเป็นพระเชษฐาของพระเจ้าอองรีที่ 3 และมาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่ง.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ. 1515 ถึงค.ศ. 1547 พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์ พระองค์แรกของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่ง.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Francis II of France) (19 มกราคม ค.ศ. 1544 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1544 ที่วังฟองแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เม.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส (Henry III of France) (19 กันยายน ค.ศ. 1551 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589 พระเจ้าอองรีที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1551 ที่พระราชวังฟงแตนโบลในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าอองรีที่ 2 และ แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ทรงได้รับพระนามเมื่อเสด็จพระราชสมภพว่า “Alexandre-Édouard de Valois-Angoulême” ก่อนที่จะเสด็จขึ้นครองราชย์พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียระหว่างปี ค.ศ. 1573 ถึงปี ค.ศ. 1574 โดยมีข้อแม้ว่าต้องทรงลงพระนามใน “Pacta conventa” ที่สัญญาว่าจะทรงมีความผ่อนผันต่อผู้นับถือศาสนาต่างๆ ในเครือจักรภพ พระเจ้าอองรีเป็นพระอนุชาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 และพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส และเป็นพระเชษฐาของมาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระเจ้าอองรีทรงเสกสมรสกับหลุยส์แห่งลอร์แรน-โวเดมองท์เมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน
ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว
“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St. Bartholomew’s Day massacre) เป็นระลอกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศสโดยฝูงชนชาวฝรั่งเศสผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกไล่สังหารชาวฝรั่งเศสที่เรียกตัวเองว่าอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (โปรเตสแตนต์คาลวินิสต์) เชื่อกันว่ามีต้นตอมาจากสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ พระมารดาของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส การสังหารหมู่ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 วันหลังวันแต่งงานระหว่างมาร์เกอรีต เดอ วาลัวส์ (Marguerite de Valois) พระขนิษฐาของ พระเจ้าชาร์ลที่ 9 กับอองรีแห่งนาวาร์ผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ งานแต่งงานเป็นโอกาสที่อูเกอโนต์ผู้ร่ำรวยมีฐานะดีจะออกมาร่วมงานฉลองในเมืองปารีสที่ผู้คนส่วนใหญ่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เหตุเกิดขึ้นสองวันหลังจากที่การลอบสังหารนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี นายทหารของอูเกอโนต์ไม่ประสบความสำเร็จ เริ่มเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..
การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
ราชวงศ์บูร์บง
ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง · ราชวงศ์บูร์บงและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
ราชวงศ์วาลัว
ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเตียง สืบราชสมบัติฝรั่งเศสต่อจากราชวงศ์กาเปเตียงในค.ศ. 1328 และส่งต่อให้ราชวงศ์บูร์บงในค.ศ. 1589 ราชวงศ์วาลัวสาขาเบอร์กันดีปกครองแคว้นเบอร์กันดีด้วย เป็นดุ๊กแห่งเบอร์กันดี ราชวงศ์วาลัวสืบเชื้อสายมาจากชาร์ลส์ เคานต์แห่งวาลัว (Charles, Count of Valois) พระโอรสองค์ที่ 3 ของพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส แม้พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ราชวงศ์กาเปเตียงจะมีพระโอรสถึงสามองค์ ซึ่งทั้งสามพระองค์ก็ได้เป็นกษัตริย์ แต่กลับไม่มีพระองค์ใดมีทายาทเลย ใน..
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์วาลัว · ราชวงศ์วาลัวและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
อูเกอโนต์
อูเกอโนต์ (huguenots) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาของคริสเตียน (โปรเตสแตนต์) ฝรั่งเศสผู้นับถือขนบปฏิรูป คำนี้ใช้เรียกสมาชิกคริสตจักรปฏิรูปแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 ถึงประมาณปี 1800 คำนี้มีจุดกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส อูเกอโนต์เป็นคริสเตียนฝรั่งเศสซึ่งมาจากทางเหนือของประเทศฝรั่งเศสเป็นหลัก ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากงานเขียนของนักเทววิทยาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 และผู้สนับสนุนขนบปฏิรูปของนิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งขัดกับประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเยอรมันนับถือนิกายลูเทอแรนในอาลซัส มอแซลและมงเบลียาร์ ฮันส์ ฮิลเลอร์แบรนด์ (Hans Hillerbrand) ในสารานุกรมนิกายโปรเตสแตนต์อ้างว่าชุมชนอูเกอโนต์มีประชากรมากถึงร้อยละ 10 ของประชากรฝรั่งเศสในวันก่อนการสังหารหมู่วันนักบุญบาร์โทโลมิว โดยลดลงเหลือร้อยละ 7–8 เมื่อประมาณปี 1600 และยิ่งลดลงหลังการเบียดเบียนอย่างหนักซึ่งเริ่มต้นอีกหลังพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบลโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จำนวนของอูเกอโนต์สูงสุดประมาณเกือบสองล้านคนในปี 1562 โดยส่วนใหญ่กระจุกอยู่ส่วนใต้และตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เมื่ออูเกอโนต์มีอิทธิพลและแสดงออกซึ่งศรัทธาของพวกตนอย่างเปิดเผยมากขึ้น ความเป็นปรปักษ์ของคาทอลิกก็เติบโตขึ้นด้วย แม้มีการผ่อนปรนทางการเมืองและพระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนาจากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส มีความขัดแย้งทางศาสนาหลายครั้งตามมา เรียก สงครามศาสนาฝรั่งเศส ซึ่งสู้รบกันเป็นพัก ๆ ตั้งแต่ปี 1562 ถึง 1598 อูเกอโนต์มีแฌน ดาเบร (Jeanne d'Albret) และพระราชโอรส อนาคตพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และเจ้ากองเด สงครามยุติด้วยพระราชกฤษฎีกานองซ์ ซึ่งให้อัตตาณัติศาสนา การเมืองและทหารพอสมควรแก่อูเกอโนต์ กบฏอูเกอโนต์ในคริสต์ทศวรรษ 1620 ทำให้มีการเลิกเอกสิทธิ์ทางการเมืองและทางทหารของพวกเขา พวกเขายังคงไว้ซึ่งบทบัญญัติทางศาสนาของพระราชกฤษฎีกานองซ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ค่อย ๆ เพิ่มการเบียดเบียนอูเกอโนต์จนทรงตราพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (ปี 1685) ยุติการรับรองนิกายโปรเตสแตนต์ใด ๆ ตามกฎหมายในประเทศฝรั่งเศสและบีบให้อูเกอโนต์เข้ารีตหรือหลบหนีในระลอกดราโกนาเดอ (dragonnades) รุนแรง พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทำให้ประชากรอูเกอโนต์ฝรั่งเศส 800,000 ถึง 900,000 คนลดเหลือ 1,000 ถึง 1,500 คน กระนั้น อูเกอโนต์จำนวนเล็กน้อยยังเหลือรอดและเผชิญการเบียดเบียนต่อเนื่องมาถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เสด็จสวรรคตในปี 1774 ลัทธิคาลวินในฝรั่งเศสเกือบสูญสิ้นทั้งหมด การเบียดเบียนคริสเตียนยุติลงอย่างเป็นทางการด้วยพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (พระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนา) ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงลงพระปรมาภิไธยในปี 1787 สองปีให้หลัง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองปี 1789 ให้คริสเตียนได้รับสิทธิเท่าเทียมเป็นพลเมืองAston, Religion and Revolution in France, 1780–1804 (2000) pp 245–50 ผู้อพยพอูเกอโนต์จำนวนมากอพยพไปยังรัฐโปรเตสแตนต์อย่างอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์ สาธารณรัฐดัตช์ รัฐผู้คัดเลือกบรันเดนบูร์กและรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ดัชชีปรัสเซีย หมู่เกาะแชนเนล ตลอดจนไอร์แลนด์ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกแต่โปรเตสแตนต์ควบคุม พวกเขายังแพร่ไปยังอาณานิคมแหลมดัตช์ในแอฟริกาใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกดัตช์ แคริบเบียน นิวเนเธอร์แลนด์และอาณานิคมอังกฤษหลายแห่งในทวีปอเมริกาเหนือ ครอบครัวจำนวนน้อยไปยังรัสเซียที่นับถือออร์โธด็อกซ์และควิเบกที่นับถือคาทอลิก ปัจจุบัน อูเกอโนต์ส่วนใหญ่กลืนเข้าสู่สังคมและวัฒนธรรมต่าง ๆ แต่ชุมชนหลงเหลือกามีซาร์ (Camisards) ในเทือกเขาซีเวน (Cévennes) สมาชิกของคริสตจักรโปรเตสแตนต์รวมฝรั่งเศส สมาชิกฝรั่งเศสของคริสตจักรปฏิรูปโปรเตสแตนต์อาลซัสและลอแรนซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยอรมัน ตลอดจนกลุ่มอูเกอโนต์ในประเทศอังกฤษและออสเตรเลียยังคงความเชื่อของพวกตนและการเรียกชื่ออูเกอโนต.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอูเกอโนต์ · สงครามศาสนาของฝรั่งเศสและอูเกอโนต์ ·
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ประเทศสวิตเซอร์แลนด์และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี · ประเทศเยอรมนีและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ·
แคทเธอรีน เดอ เมดีชี
ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · สงครามศาสนาของฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส
การเปรียบเทียบระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส มี 351 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงครามศาสนาของฝรั่งเศส มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 5.68% = 22 / (351 + 36)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: