เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส vs. พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี.. ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส มี 34 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2338พ.ศ. 2357พ.ศ. 2358พ.ศ. 2367พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพวกคลั่งเจ้ากฎหมายแซลิกการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงการรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสการทลายคุกบัสตีย์การปฏิวัติฝรั่งเศสการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789การประชุมใหญ่แห่งเวียนนากิโยตีนมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มามารี อ็องตัวแน็ตยุทธการที่วอเตอร์ลูระบอบเก่าราชวงศ์บูร์บงราชอาณาจักรเนเปิลส์ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยร้อยวันสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งจักรวรรดิรัสเซีย...ปรัสเซียปารีสแม่น้ำไรน์เกาะเอลบา ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2338 · พ.ศ. 2338และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2357 · พ.ศ. 2357และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2358 · พ.ศ. 2358และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2367 · พ.ศ. 2367และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France; ''หลุยส์แก็งซ์เดอฟร็องส์''.) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2253 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2317) หรือ ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง (ฝรั่งเศส: le Bien-Aimé; เลอเบียง-เนเม) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2258 (ค.ศ. 1715) จนกระทั่งสวรรคต ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อยังทรงพระเยาว์ การบริหารราชการในระยะแรกอยู่ในความรับผิดชอบของอ็องเดร แอร์กูล เดอเฟลอรี เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นก็ทรงเอาพระทัยในการบริหารประเทศ แต่ทรงพยายามรักษาความยิ่งใหญ่ของฝรั่งเศสไว้เช่นสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ด้วยการทำสงครามกับเพื่อนบ้านหลายครั้งแต่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณไปเป็นจำนวนมาก ภายหลังทรงเริ่มละทิ้งราชการไปสนพระทัยในวิทยาศาสตร์และสนทนากับปัญญาชน รวมถึงทรงมีสัมพันธ์กับสตรีสูงศักดิ์หลายคน ถือว่าสถาบันกษัตริย์ของฝรั่งเศสเริ่มเสื่อมความนิยมและเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น การบริหารประเทศไร้ประสิทธิภาพจนนำไปสู่วิกฤตการณ์ในรัชกาลต่อม.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พวกคลั่งเจ้า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ซึ่งพวกคลั่งเจ้าเห็นว่า ทรงประนีประนอมเกินไป พวกคลั่งเจ้า (Ultra-Royalist หรือ Ultra) เป็นกลุ่มหัวเอียงขวาในรัฐสภาฝรั่งเศสตั้งปี 1815 ถึง 1830 ซึ่งเป็นช่วงนำราชวงศ์บูร์บงคืนสู่ราชบัลลังก์ (Bourbon Restoration) ช่วงนั้น การเลือกตั้งตามสำมะโน (census suffrage) ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่แต่ละบุคคลมีคะแนนเสียงไม่เท่าเทียมกันขึ้นอยู่กับสถานภาพตามทะเบียนสำมะโนนั้น ส่งผลให้พวกคลั่งเจ้าได้เสียงข้างมากในสภาผู้แทน (Chamber of Deputies) ถึงสองครั้ง คือ ตั้งแต่ปี 1815 ถึง 1816 และตั้งแต่ปี 1824 ถึง 1827 ในเวลาดังกล่าว สภาได้รับสมญาว่า "สภาทุรคม" (Chambre introuvable) และพวกคลั่งเจ้าซึ่งขึ้นชื่อว่า "ทำตัวเป็นเจ้ายิ่งกว่ายิ่งเจ้า" (plus royalistes que le roi) ได้ครองเสียงข้างมากเด็ดขาดภายใต้การปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 (Louis XVIII) มาจนถึงพระเจ้าชาลส์ที่ 10 (Charles X) พวกคลั่งเจ้าดังกล่าวไม่สนับสนุนแนวคิดเสรีนิยม สาธารณรัฐนิยม และประชาธิปไตย พวกเขาไม่ต้องการให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ทรงดำเนินการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ทั้งยังต่อต้านการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ เพราะหมายจะบูรณะระบอบเก่า (Ancien Régime) และขจัดความแตกแยกซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เองทรงหวังที่จะลดทอนการนำระบอบเก่ากลับมาอีกครั้ง เผื่อประชาชนจะยอมรับระบอบเก่าได้บ้าง เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 สวรรคตในปี 1824 พวกคลั่งเจ้าเสียกำลังใจอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดี พระเจ้าชาลส์ที่ 10 ซึ่งเคยเป็นผู้นำพวกคลั่งเจ้าต่อต้านพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ และร่วมมือกับพวกคลั่งเจ้าในการนำประเทศไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ครั้นเดือนมกราคม 1825 รัฐบาลซึ่งมีฌอแซฟ เดอ วีย์แลล (Joseph de Villèle) ผู้นำพวกคลั่งเจ้า เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ตราพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการเหยียดหยามศาสนา (Anti-Sacrilege Act) เพื่อกำหนดให้การลักสิ่งเคารพทางศาสนาต้องระวางโทษประหารชีวิต ฌ็อง-นอแอล ฌ็อนเนย์ (Jean-Noël Jeanneney) นักประวัติศาสตร์ เรียกขานพระราชบัญญัตินี้ว่าเป็น "กฎหมายมิคสัญญี" (anachronic law) นอกจากนี้ พวกคลั่งเจ้ายังประสงค์จะจัดตั้งศาลเพื่อจัดการพวกนิยมการเปลี่ยนถึงรากฐาน (radicalism) และจะตรากฎหมายเพื่อจำกัดเสรีภาพของสื่อด้วย ทว่า ในปี 1830 นั้นเอง เกิดการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมเสียก่อน เป็นเหตุให้พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 (Louis Philippe I) ราชนิกุลออร์เลอ็อง (Orléans) ซึ่งสนับสนุนนโยบายเสรีนิยม ได้เสวยราชย์ ส่วนพวกคลั่งเจ้าต้องพ้นจากอำนาจและล่าถอยไปอยู่อาศัยอย่างสันโดษในแถบชนบท พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปทรงยกเลิกพระราชบัญญัติข้างต้นในไม่กี่เดือนหลังทรงครองราชย์ แต่พวกคลั่งเจ้ายังมีอิทธิพลอยู่ต่อไปจนถึงปี 1879 เป็นอย่างน้อย ครั้นเกิดวิกฤติการณ์ 16 พฤษาคม 1877 อำนาจราชศักดิ์ของพวกคลั่งเจ้าลดน้อยถอยลงไปมากยิ่ง เขาเหล่านั้นจึงบรรเทาความสุดโต่งในแนวคิด และตั้งเป้าหมายใหม่เป็นการนำราชวงศ์บูร์บง (Bourbon) หวนคืนสู่ราชบัลลังก์อีกครั้ง นับแต่นั้น พวกคลั่งเจ้าจึงได้ชื่อใหม่ว่า "เหล่าผู้สืบสิทธิโดยนิติธรรม" (Legitimists) ปัจจุบัน พวกคลั่งเจ้า (ultra-royalist) สามารถหมายถึง บุคคลซึ่งนิยมเจ้าอย่างยิ่งยว.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพวกคลั่งเจ้า · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและพวกคลั่งเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 507 ถึงปี ค.ศ. 511.

กฎหมายแซลิกและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · กฎหมายแซลิกและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง (La Restauration; ลาเรสโตราซียง) คือช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดินโปเลียนก้าวลงจากพระราชอำนาจในปี..

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส

การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส (French invasion of Russia) หรือในรัสเซียรู้จักกันในชื่อ สงครามของผู้รักชาติปี 1812 (Отечественная война 1812 года) หรือในฝรั่งเศสรู้จักกันในชื่อ ปฏิบัติการรัสเซีย (Campagne de Russie) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1812 เมื่อกองทัพใหญ่ของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทำการข้ามแม่น้ำเนมันเพื่อหวังเข้าต่อสู้และพิชิตทัพรัสเซีย ซึ่งนโปเลียนหวังที่จะบังคับให้ ซาร์ อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย ยุติการติดต่อค้าขายกับพวกพ่อค้าอังกฤษ ซึ่งนโปเลียนหวังใช้เป็นข้อกดดันทางอ้อมให้อังกฤษสูญเสียรายได้จนต้องขอเข้าสู่กระบวนการสันติภาพกับฝรั่งเศส และปฏิบัติการนี้ก็ยังมีเป้าหมายเพื่อแย่งชิงโปแลนด์มาจากรัสเซี.

การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

การทลายคุกบัสตีย์และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การทลายคุกบัสตีย์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

การปฏิวัติฝรั่งเศสและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การปฏิวัติฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

ีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมสภาฐานันดร..

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

“การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา” โดยฌ็อง-บาติสต์ อีซาแบ ราว ค.ศ. 1819 แม้ว่าผู้แทนจากทุกรัฐที่เข้าร่วมสงครามจะได้รับการเชิญมาประชุม แต่การต่อรองที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นไปโดย “สี่มหาอำนาจ” ซึ่งได้แก่บริเตน รัสเซีย ฝรั่งเศส และออสเตรีย การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) คือ การประชุมราชทูตจากรัฐต่าง ๆ ในยุโรป มีรัฐบุรุษออสเตรีย เคลเมนส์ เวนเซิล ฟอน เมทเทอร์นิช (Klemens Wenzel von Metternich) เป็นประธาน ประชุมกันที่เวียนนาระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กิโยตีน

กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.

กิโยตีนและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · กิโยตีนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย (Erzherzogin Maria Lucia von Österreich., Archduchess Maria Lucia of Austria, Marie Louise d'Autriche, Maria Luisa d'Austria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า ลีโอโพลดีน่า ฟรานซิสก้า เธเรเซีย โยเซฟา ลูเซีย, (Maria Ludovika Leopoldina Francisca Theresia Josepha Lucia von Habsburg-Lorraine (Bonaparte)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย ก่อนที่จะทรงอภิเษกสมรสกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของนโปเลียน จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส (impératrice Marie Louise des Français) และเมื่อปีพ.ศ. 2360 พระองค์ทรงเป็น ดัชเชสแห่งปาร์มา ปิอาเซนซ่า และกูแอสตาลล่า (Maria Luigia, Duchessa di Parma, Piacenza, e Guastalla) นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีมารี อังตัวเนตแห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมารี อ็องตัวแน็ต · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่วอเตอร์ลู

ทธการที่วอเตอร์ลู เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ เมืองวอเตอร์ลู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเบลเยี่ยม, ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลน.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่วอเตอร์ลู · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและยุทธการที่วอเตอร์ลู · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ระบอบเก่าของประเทศอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ อำนาจระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ นักบวช และชนชั้นขุนนาง ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามเช่นกัน คือ ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือชนชั้นขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือสามัญชน โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น วลีนี้ใช้มาตั้งแต่ยุคเรืองปัญญา (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ยุคมืด ที่กลายมาเรียกกันว่า สมัยกลาง แนวคิดของการใช้คำว่าระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ระบอบใหม่ (New Order) คำว่า ระบอบเก่า คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่มีอคติในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: ภาษาสเปนใช้คำว่า “Antiguo Régimen” แต่แม้ว่าสเปนจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลที่ตามต่อมาแต่ความเปลี่ยนแปลงในสเปนไม่รุนแรงเท่ากับการเปลี่ยนแปลงในฝรั่ง.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและระบอบเก่า · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและระบอบเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนเปิลส์

ราชอาณาจักรเนเปิลส์ (Kingdom of Naples) เป็นอาณาจักรที่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (Italian peninsula) หรือบางครั้งก็รู้จักกันอย่างสับสนกับ “ราชอาณาจักรซิซิลี” ซึ่งเป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งหลังจากการแยกตัวของซิซิลีจากราชอาณาจักรซิซิลีเดิมที่เป็นผลมาจากกบฏซิซิเลียนเวสเปิร์ส (Sicilian Vespers) ของปี..

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชอาณาจักรเนเปิลส์ · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและราชอาณาจักรเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยร้อยวัน

มัยร้อยวัน (les Cent-Jours, Hundred Days) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สงครามประสานมิตรครั้งที่เจ็ด (War of the Seventh Coalition) เป็นช่วงเวลาที่เริ่มตั้งแต่เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 หนีจากเกาะเอลบาขึ้นสู่แผ่นดินยุโรป เมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมัยร้อยวัน · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและสมัยร้อยวัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1

ณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 (Première République) สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1792 โดยสภากงว็องซียงแห่งชาติ หลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ซึ่งในยุคนี้มีการเข่นฆ่าชีวิตผู้คนมากมายตามคำสั่งของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ ประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ จึงทำให้ผู้คนเรียกยุคสมัยนั้นว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ก่อนที่รอแบ็สปีแยร์จะถูกประหารด้วยกิโยตีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794 และในที่สุดสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ก็ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1804 จากการขึ้นครองราชย์ของนโปเลียน.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2349 ภายหลังจากที่พระองค์ถูกรุกรานโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 อันนำไปสู่สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม ทำให้พระองค์ต้องยุบจักรวรรดิ และเปลี่ยนจักรวรรดิรวมทั้งเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ โดยระหว่างปีพ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349 พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิ 2 จักรวรรดิเลยทีเดียว โดยหลังจากเปลี่ยนจักรวรรดิแล้ว พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระนามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย หลังจากนั้น พระองค์ได้ทรงนำกองทัพออสเตรีย ไปชำระแค้นกับจักรวรรดิฝรั่งเศส ในสงครามนโปเลียน แต่ก็ยังปราชัยอยู่ดี พระองค์จึงส่งพระราชธิดาองค์โต อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์ ให้ไปอภิเษกสมรสกับนโปเลียน เพื่อเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการ และเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิฝรั่ง.

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · จักรพรรดินโปเลียนที่ 1และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง

ักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง (Premier Empire) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า (L'Empire des Français; ล็องปีร์เดส์ฟร็องแซส์ แปลว่า จักรวรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส) ยังรู้จักกันในนาม มหาจักรวรรดิฝรั่งเศส และ จักรวรรดินโปเลียน โดยเป็นจักรวรรดิที่สถาปนาขึ้นโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส โดยเป็นจักรวรรดิที่มีส่วนสำคัญและมีอำนาจอย่างมากในทวีปยุโรปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเปลี่ยนผ่านมาจากคณะกงสุลฝรั่งเศส จักรวรรดิยังเป็นผู้ริเริ่มการทำสงครามมากมายในยุโรปจากนโยบายการต่างประเทศของจักรพรรดินโปเลียน ที่มุ่งเน้นจะยึดครองทวีปยุโรปไว้กับฝรั่งเศสแต่เพียงผู้เดียว.

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

จักรวรรดิรัสเซียและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · จักรวรรดิรัสเซียและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ปรัสเซีย

ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและปรัสเซีย · ปรัสเซียและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและปารีส · ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแม่น้ำไรน์ · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเอลบา

ที่ตั้งของเกาะ เกาะเอลบา (isola d'Elba; Ilva) เป็นเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในแคว้นทัสกานี ประเทศอิตาลี ห่างจากเมืองชายฝั่งปิออมบิโนไปทางตะวันตก 20 กิโลเมตร มันเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะทัสกัน เอลเบยังเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะทัสกัน และเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามในอิตาลี รองจากซิซิลีและซาร์ดิเนีย ตั้งอยู่ระหว่างทะเลไทเรเนียนและทะเลลิกูเรียน ห่างจากเกาะคอร์ซิกาของฝรั่งเศสไปทางตะวันออกราว 50 กิโลเมตร เกาะเอลบาเคยเป็นสถานที่คุมตัวของจักรพรรดินโปเลียนภายหลังฝรั่งเศสพ่ายแพ้ในสงครามประสานมิตรครั้งที่หก หมวดหมู่:เกาะในประเทศอิตาลี.

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเกาะเอลบา · พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสและเกาะเอลบา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส มี 351 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส มี 128 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 34, ดัชนี Jaccard คือ 7.10% = 34 / (351 + 128)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: