เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ดัชนี ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

สารบัญ

  1. 346 ความสัมพันธ์: บอร์โดชาร์ล เดอ โกลชาร์ลส์ที่ 6ชาร์เลอมาญบาร์เซโลนาชาววิซิกอทชาวแฟรงก์ชาวแวนดัลชาวแซกซันชาวไวกิงชาวเคลต์ฟร็องซัว มีแตร็องฟร็องซัว ออล็องด์พ.ศ. 1029พ.ศ. 1039พ.ศ. 1050พ.ศ. 1254พ.ศ. 1275พ.ศ. 1294พ.ศ. 1314พ.ศ. 1317พ.ศ. 1331พ.ศ. 1339พ.ศ. 1343พ.ศ. 1344พ.ศ. 1347พ.ศ. 1386พ.ศ. 1609พ.ศ. 1680พ.ศ. 1695พ.ศ. 1697พ.ศ. 1757พ.ศ. 1848พ.ศ. 1867พ.ศ. 1874พ.ศ. 1876พ.ศ. 1880พ.ศ. 1884พ.ศ. 1889พ.ศ. 1890พ.ศ. 1891พ.ศ. 1901พ.ศ. 1903พ.ศ. 1919พ.ศ. 1920พ.ศ. 1923พ.ศ. 1958พ.ศ. 1962พ.ศ. 1971พ.ศ. 1972... ขยายดัชนี (296 มากกว่า) »

บอร์โด

อร์โด (Bordeaux,, บางครั้งในไทยมีสะกดว่า บอร์โดซ์ และ บอร์กโดซ์) เป็นเมืองท่าตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลักของจังหวัดฌีรงด์และของแคว้นนูแวลากีแตน มีชื่อเสียงอย่างมากมายจากไร่องุ่นที่พบเห็นในตลอดเส้นทางเข้าสู่เมืองและไวน์ประจำแคว้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 โดยสถานที่ทำไวน์สำคัญ ๆ ที่ผู้รักไวน์ชาวไทยน่าจะรู้จักก็คือ แซ็งเตมีลียง, โปยัก (Pauillac), แซ็งแต็สแต็ฟ (Saint-Estèphe) และโซแตร์น (Sauternes) มีแม่น้ำการอนไหลผ่านและออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติกที่เมืองซูลัก-ซูร์-แมร์ และยังมีท่าเรือปอร์เดอลาลูน (Port de la Lune) ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปีค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและบอร์โด

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาร์ล เดอ โกล

ชาร์ลส์ที่ 6

ร์ลส์ที่ 6 (Charles VI) อาจหมายถึง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาร์ลส์ที่ 6

ชาร์เลอมาญ

ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาร์เลอมาญ

บาร์เซโลนา

ร์เซโลนา (Barcelona) หรือ บาร์ซาโลนา (Barcelona) เป็นเมืองหลักของแคว้นกาตาลุญญา และเป็นเมืองใหญ่อันดับสองทั้งในด้านขนาดและประชากรของประเทศสเปน มีประชากรในตัวเมือง 1,620,943 คน แต่ถ้านับปริมณฑลโดยรอบอาจมากกว่า 4 ล้านคน ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของคาบสมุทรไอบีเรีย ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษา คือ ภาษากาตาลาและภาษาสเปน บาร์เซโลนาเป็นเมืองท่าสำคัญ และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นอาณานิคมของโรมันมาก่อน เคยถูกยึดครองโดยชาติต่าง ๆ หลายครั้ง รวมทั้งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและบาร์เซโลนา

ชาววิซิกอท

้นทางการอพยพของชาววิซิกอท วิซิกอท (Visigoths, Visigothi, Wisigothi, แปลว่า "กอทตะวันตก") เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของชาวกอท ซึ่งเป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกกลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือชาวออสโตรกอทหรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบประเทศยูเครนในปัจจุบัน ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชนกลุ่มชนเจอร์มานิคต่าง ๆ ที่เข้ามารุกรานจักรวรรดิโรมันตอนปลายในสมัยการอพยพ เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชนชาวฮัน ที่มาจากเอเชียกลาง จนกระทั่งในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาววิซิกอท

ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวแฟรงก์

ชาวแวนดัล

การโจมตีกรุงโรม โดยไฮน์ริช ลอยเตอมันน์ ราว ค.ศ. 1860–ค.ศ. 1880 กลุ่มชนเจอร์แมนิกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 แวนดัล/ลูกีอี สีเขียวในบริเวณโปแลนด์ปัจจุบัน แวนดัล (Vandals) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์แมนิกตะวันออกที่เข้ามามีบทบาทในตอนปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์ชาวกอทพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าแผ่นดินของชาวออสโตรกอทและผู้สำเร็จราชการของชาววิซิกอทเป็นพันธมิตรของแวนดัลโดยการสมรส และเป็นพันธมิตรกับเบอร์กันดีและแฟรงก์ภายใต้การปกครองของโคลวิสที่ 1 แวนดัลอาจจะมีชื่อเสียงจากการโจมตีกรุงโรม (Sack of Rome) ในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวแวนดัล

ชาวแซกซัน

รูปแกะนูนแซกซันของ "irminsul" ที่เชื่อกันว่าเชื่อมระหว่างโลกกับสวรรค์ที่เอ็กซ์เทิร์นชไตเนอ (Externsteine) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซัน (Saxon; Sachsen; ละติน: Saxones) คือกลุ่มชนเผ่าเจอร์แมนิก ในปัจจุบันเป็นบรรพบุรุษของชนทางภาคเหนือของประเทศเยอรมนีที่เรียกว่าชาวเยอรมัน, ชนทางภาคตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาวดัตช์ และชนทางภาคใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าชาวอังกฤษ ที่ตั้งถิ่นฐานเดิมที่สุดเท่าที่ทราบของชาวแซกซันคือบริเวณทางตอนเหนือของอัลบินเจียในบริเวณฮ็อลชไตน์ (Holstein) ทางตอนเหนือสุดของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซันมีบทบาทสำคัญในการตั้งถิ่นฐานในอังกฤษโดยเฉพาะทางภาคใต้ที่ประชาชนที่อยู่อาศัยในปัจจุบันเชื่อกันว่าสีบเชี้อสายมาจากชาวแซกซันโบราณ ระหว่างสองร้อยปีที่ผ่านมาชาวแซกซันก็ไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกา และในบริเวณที่เป็นสหภาพโซเวียตแต่เดิม ซึ่งในบางชุมชน ชาวแซกซันยังรักษาประเพณีและภาษาของตนที่เรียกกันทั่วไปว่า "ชาวเยอรมัน" และ "ชาวดัตช์" ความมีอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวแซกซันที่มีต่อบริเวณสแกนดิเนเวีย บริเวณบอลติก และต่อชาวโพเลเบียและชาวพอเมอเรเนียซึ่งเป็นชนสลาฟตะวันตก เป็นผลมาจากเส้นทางการค้าในยุคกลางของสันนิบาตฮันเซียติก ทอเลมีเป็นนักภูมิศาสตร์กรึกคนแรกที่กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานของชาวแซกซันยุคก่อนคริสเตียนว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนทางใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์, แคว้นแซกโซนีเก่า, และบางส่วนทางตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาวแซกซันเป็นส่วนหนึ่งของผู้รุกรานมณฑลบริตันนิอา (Britannia) ของจักรวรรดิโรมัน ชนเผ่าหนึ่งของชาวเจอร์แมนิกที่รุกรานคือ ชาวแองเกิล ซึ่งเมื่อรวมกับ "แซกซัน" จึงกลายเป็นคำว่า "แองโกล-แซกซัน" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวแซกซัน

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวไวกิง

ชาวเคลต์

ริเวณที่ยังมีการใช้ภาษากลุ่มเคลต์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เคลต์ หรือ เซลต์ (Celts; หรือ) เป็นคำที่ใช้เรียกชนยุโรปที่เดิมพูดหรือยังพูดภาษากลุ่มเคลต์ (Celtic languages) นอกจากนั้นก็ยังเป็นคำที่ใช้ในความหมายกว้าง ๆ ในการบรรยายผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่ เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็กยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเริ่มก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัยวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตรียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแตน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึงไอร์แลนด์และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเชีย (Galatia) (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์ หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยู่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค (Lepontic language) จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรปมีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลต์เกาะ (Insular Celtic) ปรากฏในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม (Ogham inscription) อารยธรรมทางวรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอริชเก่าตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น "Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังการขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการย้ายถิ่นฐาน (Migration Period) ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดอยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช (ภาษาเคลต์เกาะ) และภาษาเคลต์ยุโรปก็หยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบริตตานีบนสองฝั่งของช่องแคบอังกฤษ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและชาวเคลต์

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว ออล็องด์

ฟร็องซัว เฌราร์ ฌอร์ฌ นีกอลา ออล็องด์ (François Gérard Georges Nicolas Hollande,; เกิด 12 สิงหาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตประธานาธิบดีของฝรั่งเศส ได้รับเลือกตั้งในวันที่ 6 พฤษภาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฟร็องซัว ออล็องด์

พ.ศ. 1029

ทธศักราช 1029 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1029

พ.ศ. 1039

ทธศักราช 1039 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1039

พ.ศ. 1050

ทธศักราช 1050 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1050

พ.ศ. 1254

ทธศักราช 1254 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1254

พ.ศ. 1275

ทธศักราช 1275 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1275

พ.ศ. 1294

ทธศักราช 1294 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1294

พ.ศ. 1314

ทธศักราช 1314 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1314

พ.ศ. 1317

ทธศักราช 1317 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1317

พ.ศ. 1331

ทธศักราช 1331 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1331

พ.ศ. 1339

ทธศักราช 1339 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1339

พ.ศ. 1343

ทธศักราช 1343 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1343

พ.ศ. 1344

ทธศักราช 1344 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1344

พ.ศ. 1347

ทธศักราช 1347 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1347

พ.ศ. 1386

ทธศักราช 1386 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1386

พ.ศ. 1609

ทธศักราช 1609 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1609

พ.ศ. 1680

ทธศักราช 1680 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1680

พ.ศ. 1695

ทธศักราช 1695 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1695

พ.ศ. 1697

ทธศักราช 1697 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1697

พ.ศ. 1757

ทธศักราช 1757 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1757

พ.ศ. 1848

ทธศักราช 1848 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1848

พ.ศ. 1867

ทธศักราช 1867 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1867

พ.ศ. 1874

ทธศักราช 1874 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1874

พ.ศ. 1876

ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1876

พ.ศ. 1880

ทธศักราช 1880 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1880

พ.ศ. 1884

ทธศักราช 1884 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1884

พ.ศ. 1889

ทธศักราช 1889 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1889

พ.ศ. 1890

ทธศักราช 1890 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1890

พ.ศ. 1891

ทธศักราช 1891 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1891

พ.ศ. 1901

ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1901

พ.ศ. 1903

ทธศักราช 1903 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1903

พ.ศ. 1919

ทธศักราช 1919 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1919

พ.ศ. 1920

ทธศักราช 1920 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1920

พ.ศ. 1923

ทธศักราช 1923 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1923

พ.ศ. 1958

ทธศักราช 1958 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1958

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1962

พ.ศ. 1971

ทธศักราช 1971 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1971

พ.ศ. 1972

ทธศักราช 1972 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1972

พ.ศ. 1978

ทธศักราช 1978 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1978

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 1996

พ.ศ. 2037

ทธศักราช 2037 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2037

พ.ศ. 2042

ทธศักราช 2042 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2042

พ.ศ. 2043

ทธศักราช 2043 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2043

พ.ศ. 2103

ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2103

พ.ศ. 2105

ทธศักราช 2105 ใกล้เคียงกั..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2105

พ.ศ. 2118

ทธศักราช 2118 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2118

พ.ศ. 2127

ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2127

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2131

พ.ศ. 2136

ทธศักราช 2136 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2136

พ.ศ. 2141

ทธศักราช 2141 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2141

พ.ศ. 2153

ทธศักราช 2153 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2153

พ.ศ. 2167

ทธศักราช 2167 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2167

พ.ศ. 2186

ทธศักราช 2186 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2186

พ.ศ. 2190

ทธศักราช 2190 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2190

พ.ศ. 2191

ทธศักราช 2191 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2191

พ.ศ. 2202

ทธศักราช 2202 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2202

พ.ศ. 2203

ทธศักราช 2203 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2203

พ.ศ. 2204

ทธศักราช 2204 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2204

พ.ศ. 2208

ทธศักราช 2208 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2208

พ.ศ. 2211

ทธศักราช 2211 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2211

พ.ศ. 2215

ทธศักราช 2215 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2215

พ.ศ. 2221

ทธศักราช 2221 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2221

พ.ศ. 2225

ทธศักราช 2225 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2225

พ.ศ. 2228

ทธศักราช 2228 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2228

พ.ศ. 2229

ทธศักราช 2229 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2229

พ.ศ. 2231

ทธศักราช 2231 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2231

พ.ศ. 2243

ทธศักราช 2243 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2243

พ.ศ. 2248

ทธศักราช 2248 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2248

พ.ศ. 2252

ทธศักราช 2252 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2252

พ.ศ. 2255

ทธศักราช 2255 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2255

พ.ศ. 2256

ทธศักราช 2256 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2256

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2257

พ.ศ. 2258

ทธศักราช 2258 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2258

พ.ศ. 2278

ทธศักราช 2278 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2278

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2306

พ.ศ. 2309

ทธศักราช 2309 ใกล้เคียงกั..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2309

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2317

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2319

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2326

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2330

พ.ศ. 2332

ทธศักราช 2332 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2332

พ.ศ. 2334

ทธศักราช 2334 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2334

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2335

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2336

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2337

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2338

พ.ศ. 2340

ทธศักราช 2340 ตรงกับคริสต์ศักราช 1797 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2340

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2342

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2344

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2345

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2347

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2348

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2352

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2355

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2356

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2357

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2358

พ.ศ. 2361

ทธศักราช 2361 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2361

พ.ศ. 2364

ทธศักราช 2364 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1821.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2364

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2367

พ.ศ. 2368

ทธศักราช 2368 ตรงกับคริสต์ศักราช 1825 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2368

พ.ศ. 2372

ทธศักราช 2372 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2372

พ.ศ. 2373

ทธศักราช 2373 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1830 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2373

พ.ศ. 2374

ทธศักราช 2374 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2374

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2375

พ.ศ. 2383

ทธศักราช 2383 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1840.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2383

พ.ศ. 2390

ทธศักราช 2390 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2390

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2391

พ.ศ. 2395

ทธศักราช 2395 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1852.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2395

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2413

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 2555

พ.ศ. 803

ทธศักราช 803 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 803

พ.ศ. 817

ทธศักราช 817 ใกล้เคียงกั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 817

พ.ศ. 949

ทธศักราช 949 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 406.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 949

พ.ศ. 994

ทธศักราช 994 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 451.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพ.ศ. 994

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

พระราชกฤษฎีกานองซ์

ระราชกฤษฎีกานองซ์เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1598 พระราชกฤษฎีกานองซ์ (Édit de Nantes; Edict of Nantes) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระราชกฤษฎีกานองซ์

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Charles VII de France; Charles VII of France) (22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1403- 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Victorieux” (ผู้พิชิต) หรือ “le Bien-Servi” (ผู้ได้รับการสนองพระบรมราชโองการเป็นอย่างดี) พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส การขึ้นครองราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการคัดค้านโดยฝ่ายอังกฤษที่ขณะนั้นมีอำนาจอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษที่นำโดยจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 ที่ทำการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้าเฮนรีอยู่ในปารีสก็อ้างว่าพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทรงเป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอย่างถูกต้องตามที่ระบุในสนธิสัญญาตรัวส์ (Treaty of Troyes) แต่พระเจ้าชาร์ลก็ทรงได้เข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เมืองแรงส์ในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Charles VIII of France หรือรู้จักกันในภาษาCharles VIII l'Affable) (30 มิถุนายน ค.ศ. 1470 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส (Charles IX of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Francis II of France) (19 มกราคม ค.ศ. 1544 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Philip VI of France หรือ Philip the Fortunate; Philip le Fortuné) (ค.ศ. 1293 - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1350) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสต่อจากพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน

พระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน (Carlos II de España, Charles II of Spain) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยเป็นพระราชโอรสพระองค์เดียว ทีมีพระชนม์ชีพอยู่ของ พระเจ้าเฟลิเปที่ 4 แห่งสเปน และ สมเด็จพระราชินีมาเรียนา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน

พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าโรแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (27 มีนาคม ค.ศ. 972 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031) เป็นกษัตริย์แห่งประเทศฝรั่งเศส จาก ค.ศ. 996 จนกระทั่งการตายของพระองค์ พระองค์ประสูติที่ เมืองออร์เลองส์ ประเทศฝรั่งเศส และสวรรคตที่เมืองเมอลุน ประเทศฝรั่งเศส สิริพระชนมายุได้ 59 พรรษา ศพของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่ บาซิลิสก์ แซงต์-เดอนี กรุงปารีส บิดาของพระองค์คือ อูก กาเป และมารดาของพระองค์คือ อดีเลด์แห่งอากีแตง พระมหากษัตริย์ที่ได้ครองราชย์ต่อจากพระองค์คือ พระเจ้าอองรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:ตระกูลคาเปต์.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส (Louis XI of France หรือ the Spider King หรือ Louis XI le Prudent หรือ l'universelle aragne) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1423 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส (Louis XII of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1462 - 1 มกราคม ค.ศ. 1515) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส จากสายวาลัวส์-ออร์เลอองส์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 เสด็จพระราชสมภพที่วังบลัวส์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสของชาร์ลส์ ดยุกแห่งออร์เลอองส์ และ มารีแห่งคลีฟส์ ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 เมษายน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส (Louis XIII de France; หลุยส์เตร์ซเดอฟร็องส์) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองผู้ปกครองแผ่นดินฝรั่งเศสตั้งแต..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France; ''หลุยส์แก็งซ์เดอฟร็องส์''.) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2253 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2317) หรือ ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง (ฝรั่งเศส: le Bien-Aimé; เลอเบียง-เนเม) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Louis VI of France หรือ Louis the Fat หรือ Louis le Gros) (1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเซียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Louis VII of France หรือ Louis VII the Younger หรือ Louis le Jeune) (ค.ศ. 1120 - 18 กันยายน ค.ศ. 1180) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอูก กาแป

พระเจ้าอูก กาแป (Hugues Capet; พ.ศ. 1482 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 1539) เป็นกษัตริย์ฝรั่งเศส จากพ.ศ. 1530 จนกระทั่งพระองค์สวรรคต พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 36 แห่งฝรั่งเศส และเป็น "ปฐมกษัตริย์ของชาวแฟรงก์" แห่งราชวงศ์กาเปเซียง บิดาของพระองค์คือพระเจ้าอูกมหาราช และมารดาของพระองค์คือ เฮดวิกแห่งแซกโซนี พระมหากษัตริย์ที่ได้ครองราชย์ต่อจากพระองค์คือพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์กาแป หมวดหมู่:เคานท์แห่งออร์เลอองส์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แฟรงก์ หมวดหมู่:ราชวงศ์การอแล็งเฌียง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอูก กาแป

พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอองรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (20 กรกฎาคม พ.ศ. 1574 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 1603) พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่ครองราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 1574 จนกระทั่งพระองค์สวรรคต พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 38 แห่งฝรั่งเศส และเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์กาเปเซียง พระราชบิดาของพระองค์คือพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และพระราชมารดาของพระองค์คือคอนส์แตนส์ แห่งอาร์เลส พระมหากษัตริย์ที่ได้ครองราชย์ต่อจากพระองค์คือพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:ตระกูลคาเปต์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งเบอร์กันดี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส (Henry III of France) (19 กันยายน ค.ศ. 1551 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ

ระเจ้าจอห์น หรือที่รู้จักในพระนาม “จอห์นผู้เสียแผ่นดิน” (John หรือ John Lackland ค.ศ. 1166-1216) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ ครองราชย์ระหว่าง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน

ระเจ้าเฟรนานโดที่ 2, พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน หรือ พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 5 แห่งคาสตีล (สเปน: Fernando II de Aragón, อังกฤษ: Ferdinand II of Aragon; 10 มีนาคม พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน

ระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งสเปน เมื่อเรียกพระนามตามแบบอังกฤษ (สเปน: Felipe IV; อังกฤษ: Philip IV) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์สเปนและโปรตุเกส ทรงดำรงพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสถึง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน

พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน (Felipe V de España, Philip V II of Spain, filippo v di spagna, philippe v roi d'espagne) (19 ธันวาคม ค.ศ. 1683 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1746) เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส และดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย ประสูติ ณ พระราชวังแวร์ซายส์ และเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงขึ้นครองราชย์ ในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Henry I of England) (ราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของราชอาณาจักรอังกฤษในราชวงศ์นอร์มัน พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ (Henry V of England) (16 กันยายน ค.ศ. 1387 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ (Henry VI of England) (6 ธันวาคม ค.ศ. 1421 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1471) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและฝรั่งเศส สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (Henry VIII of England) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ 21 เมษายน 1509 จนสวรรคต นอกจากนี้ยังทรงเป็นชาวอังกฤษพระองค์แรกที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ และยังเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอีกด้วย พระเจ้าเฮนรีทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่สองของราชวงศ์ทิวดอร์ ซึ่งครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา พระเจ้าเฮนรีที่ 7 นอกจากการอภิเษกสมรสทั้ง 6 ครั้งและความสัมพันธ์กับสตรีนอกสมรสแล้ว อีกหนึ่งเรื่องราวสำคัญในรัชสมัยของพระองค์คือการประกาศให้การอภิเษกกับแคเธอรีนแห่งอารากอน มเหสีคนแรกเป็นโมฆะ ซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งกับพระสันตะปาปา และนำประเทศไปสู่การแยกตัวออกจากศาสนจักรโรมันคาทอลิก โดยการสถาปนาคริสตจักรแห่งอังกฤษขึ้นมาแทน ซึ่งเป็นคริสตจักรที่ไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปา และถือเอาตัวพระองค์เองในฐานะกษัตริย์เป็น "ประมุขสูงสุดของคริสตจักรในอังกฤษ" และนำไปสู่การยุบอารามขึ้น แต่ในด้านความเชื่อพระองค์ยังคงถือคำสอนหลายอย่างตามโรมันคาทอลิก แม้ว่าจะถูกพระสันตะปาปาประกาศตัดขาดจากศาสนาไปแล้วก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังคอยควบคุมการรวมสหภาพระหว่างอังกฤษกับเวลส์ และพระองค์ยังได้ขึ้นชื่อว่าทรงเป็นศัตรูตลอดกาลกับพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และ จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตลอดรัชสมัยได้ทำสงครามกันหลายต่อหลายครั้ง พระเจ้าเฮนรีถือเป็นกษัตริย์ที่มีเสน่ห์ มีการศึกษาดี และทรงคุณวุฒิ และเป็นประมุขที่ทรงบารมีที่สุดแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ แม้จะทรงใช้อำนาจปกครองประเทศอย่างเด็ดขาดแต่ก็ทรงสนพระทัยการเขียนและนิพนธ์ ทรงเห็นว่าสตรีไม่สามารถสร้างความเจริญและมั่นคงแก่ราชวงศ์ทิวดอร์ได้ จึงมีพระราชประสงค์อย่างมากที่จะได้รัชทายาทชายสืบทอดราชบัลลังก์ ทำให้ทรงอภิเษกสมรสหลายครั้งและต่อมาต้องดำเนินการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ ซึ่งนำให้อังกฤษกลายเป็นชาติโปรเตสแตนต์ ช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ พระองค์เป็นโรคอ้วนซึ่งทำให้พระพลานามัยย่ำแย่ มีพระรสนิยมผิดปกติ พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์จึงมักแสดงออกถึงความมักมาก เห็นแก่ตัว โหดร้าย พระอารมณ์ไม่มั่นคง ภายหลังสวรรคต พระราชโอรส(ตามกฎหมาย)องค์เดียวของพระองค์ ได้สืบราชบัลลังก์ต่อเป็น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ขณะมีพระชันษาเพียง 9 ปี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พวกคลั่งเจ้า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ซึ่งพวกคลั่งเจ้าเห็นว่า ทรงประนีประนอมเกินไป พวกคลั่งเจ้า (Ultra-Royalist หรือ Ultra) เป็นกลุ่มหัวเอียงขวาในรัฐสภาฝรั่งเศสตั้งปี 1815 ถึง 1830 ซึ่งเป็นช่วงนำราชวงศ์บูร์บงคืนสู่ราชบัลลังก์ (Bourbon Restoration) ช่วงนั้น การเลือกตั้งตามสำมะโน (census suffrage) ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่แต่ละบุคคลมีคะแนนเสียงไม่เท่าเทียมกันขึ้นอยู่กับสถานภาพตามทะเบียนสำมะโนนั้น ส่งผลให้พวกคลั่งเจ้าได้เสียงข้างมากในสภาผู้แทน (Chamber of Deputies) ถึงสองครั้ง คือ ตั้งแต่ปี 1815 ถึง 1816 และตั้งแต่ปี 1824 ถึง 1827 ในเวลาดังกล่าว สภาได้รับสมญาว่า "สภาทุรคม" (Chambre introuvable) และพวกคลั่งเจ้าซึ่งขึ้นชื่อว่า "ทำตัวเป็นเจ้ายิ่งกว่ายิ่งเจ้า" (plus royalistes que le roi) ได้ครองเสียงข้างมากเด็ดขาดภายใต้การปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 (Louis XVIII) มาจนถึงพระเจ้าชาลส์ที่ 10 (Charles X) พวกคลั่งเจ้าดังกล่าวไม่สนับสนุนแนวคิดเสรีนิยม สาธารณรัฐนิยม และประชาธิปไตย พวกเขาไม่ต้องการให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ทรงดำเนินการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ทั้งยังต่อต้านการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ เพราะหมายจะบูรณะระบอบเก่า (Ancien Régime) และขจัดความแตกแยกซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เองทรงหวังที่จะลดทอนการนำระบอบเก่ากลับมาอีกครั้ง เผื่อประชาชนจะยอมรับระบอบเก่าได้บ้าง เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 สวรรคตในปี 1824 พวกคลั่งเจ้าเสียกำลังใจอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดี พระเจ้าชาลส์ที่ 10 ซึ่งเคยเป็นผู้นำพวกคลั่งเจ้าต่อต้านพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ และร่วมมือกับพวกคลั่งเจ้าในการนำประเทศไปสู่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ครั้นเดือนมกราคม 1825 รัฐบาลซึ่งมีฌอแซฟ เดอ วีย์แลล (Joseph de Villèle) ผู้นำพวกคลั่งเจ้า เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ตราพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการเหยียดหยามศาสนา (Anti-Sacrilege Act) เพื่อกำหนดให้การลักสิ่งเคารพทางศาสนาต้องระวางโทษประหารชีวิต ฌ็อง-นอแอล ฌ็อนเนย์ (Jean-Noël Jeanneney) นักประวัติศาสตร์ เรียกขานพระราชบัญญัตินี้ว่าเป็น "กฎหมายมิคสัญญี" (anachronic law) นอกจากนี้ พวกคลั่งเจ้ายังประสงค์จะจัดตั้งศาลเพื่อจัดการพวกนิยมการเปลี่ยนถึงรากฐาน (radicalism) และจะตรากฎหมายเพื่อจำกัดเสรีภาพของสื่อด้วย ทว่า ในปี 1830 นั้นเอง เกิดการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมเสียก่อน เป็นเหตุให้พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 (Louis Philippe I) ราชนิกุลออร์เลอ็อง (Orléans) ซึ่งสนับสนุนนโยบายเสรีนิยม ได้เสวยราชย์ ส่วนพวกคลั่งเจ้าต้องพ้นจากอำนาจและล่าถอยไปอยู่อาศัยอย่างสันโดษในแถบชนบท พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปทรงยกเลิกพระราชบัญญัติข้างต้นในไม่กี่เดือนหลังทรงครองราชย์ แต่พวกคลั่งเจ้ายังมีอิทธิพลอยู่ต่อไปจนถึงปี 1879 เป็นอย่างน้อย ครั้นเกิดวิกฤติการณ์ 16 พฤษาคม 1877 อำนาจราชศักดิ์ของพวกคลั่งเจ้าลดน้อยถอยลงไปมากยิ่ง เขาเหล่านั้นจึงบรรเทาความสุดโต่งในแนวคิด และตั้งเป้าหมายใหม่เป็นการนำราชวงศ์บูร์บง (Bourbon) หวนคืนสู่ราชบัลลังก์อีกครั้ง นับแต่นั้น พวกคลั่งเจ้าจึงได้ชื่อใหม่ว่า "เหล่าผู้สืบสิทธิโดยนิติธรรม" (Legitimists) ปัจจุบัน พวกคลั่งเจ้า (ultra-royalist) สามารถหมายถึง บุคคลซึ่งนิยมเจ้าอย่างยิ่งยว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและพวกคลั่งเจ้า

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกฎหมายแซลิก

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกลุ่มชนเจอร์แมนิก

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกอล

กองทัพใหญ่

กองทัพใหญ่ (La Grande Armée, ในภาษาอังกฤษมักแปลว่า "the Great Army" หรือ "the Grand Army") เป็นชื่อของกองทัพฝรั่งเศสในยุคสงครามนโปเลียน กองทัพนี้เริ่มเข้ามามีบทบาทในประวัติศาสตร์ในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกองทัพใหญ่

กัสกอญ

แผนที่กัสกอญแสดงอาณาบริเวณกว้าง ๆ โดยทั่วไป แผนที่อื่นอาจจะแสดงบริเวณที่แคบกว่า กัสกอญ (Gascogne) หรือ แกสโคนี (Gascony) คืออาณาบริเวณทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันที่เป็นส่วนหนึ่งของ “จังหวัดกุยแยนและกัสกอญ” ก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ความแตกต่างระหว่างกุยแยนและกัสกอญไม่ชัดแจ้งและบางครั้งก็เหลื่อมล้ำกันและบางครั้งกัสกอญก็เป็นส่วนหนึ่งของกุยแยน แต่โดยความหมายทั่วไปแล้ว กัสกอญตั้งอยู่ทางตะวันออกและทางใต้ของบอร์โด หมวดหมู่:จังหวัดในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกัสกอญ

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง (La Restauration; ลาเรสโตราซียง) คือช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดินโปเลียนก้าวลงจากพระราชอำนาจในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

การรวมชาติเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมันระหว่างค.ศ. 1871–1918 การรวมชาติเยอรมัน (Deutsche Einigung) คือการที่รัฐเล็กน้อยต่างๆที่พูดภาษาเยอรมันถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน การรวมชาติมีขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการรวมชาติเยอรมัน

การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส

การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส (French invasion of Russia) หรือในรัสเซียรู้จักกันในชื่อ สงครามของผู้รักชาติปี 1812 (Отечественная война 1812 года) หรือในฝรั่งเศสรู้จักกันในชื่อ ปฏิบัติการรัสเซีย (Campagne de Russie) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส

การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการทลายคุกบัสตีย์

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์ การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติอุตสาหกรรม

รงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาพ ''เหล็กและถ่านหิน'' โดยวิลเลียม เบลล์ สกอตต์, ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

ีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมสภาฐานันดร..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

“การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา” โดยฌ็อง-บาติสต์ อีซาแบ ราว ค.ศ. 1819 แม้ว่าผู้แทนจากทุกรัฐที่เข้าร่วมสงครามจะได้รับการเชิญมาประชุม แต่การต่อรองที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นไปโดย “สี่มหาอำนาจ” ซึ่งได้แก่บริเตน รัสเซีย ฝรั่งเศส และออสเตรีย การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) คือ การประชุมราชทูตจากรัฐต่าง ๆ ในยุโรป มีรัฐบุรุษออสเตรีย เคลเมนส์ เวนเซิล ฟอน เมทเทอร์นิช (Klemens Wenzel von Metternich) เป็นประธาน ประชุมกันที่เวียนนาระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

การให้เอกราช

การให้เอกราช (decolonization หรือ decolonisation) หมายถึงล้มล้างลัทธิล่าอาณานิคม การก่อตั้งวิธีการปกครองหรือองค์กรบริการอำนาจผ่านทางการสร้างข้อตกลงกับประเทศอื่น ๆ หรือเขตอำนาจศาล คำดังกล่าวมักหมายถึงการได้รับเอกราชของอาณานิคมและรัฐในอารักขาของชาติตะวันตกในทวีปเอเชียและแอฟริกาหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง การบรรลุการให้เอกราชเป็นผลมาจากการได้รับเอกราช การผสมผสานเข้ากับอำนาจการบริหารหรือรัฐอื่น หรือการสร้างสถานะ "การรวมตัวเสรี" คณะกรรมการพิเศษด้านการให้เอกราชของสหประชาชาติ ระบุว่า กระบวนการให้เอกราชนั้น ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากแนวคิดของการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง การให้เอกราชอาจรวมไปถึงการเจรจาอย่างสันติ และ/หรือการปฏิบัติอย่างรุนแรง และการต่อสู้ด้วยกำลังของประชากรพื้นเมือง การให้เอกราชอาจเป็นกิจการภายในหรืออาจเกี่ยวข้องกับการแทรกแซงจากอำนาจต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สันนิบาติชาติหรือสหประชาชาติ ก็ได้ ถึงแม้ว่าตัวอย่างของการให้เอกราชจะพบได้นับแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในช่วงเวลาสมัยใหม่ มีช่วงเวลาการให้เอกราชที่เฉพาะเป็นจำนวนมาก อาทิ การล่มสลายของจักรวรรดิสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 19 การล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิเยอรมัน และจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง และการล่มสลายของสหภาพโซเวียตภายหลังกำแพงเบอร์ลินถูกพังทลาย ในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและการให้เอกราช

กาฬโรค

กาฬโรค (plague) เป็นโรคติดเชื้อถึงตายที่เกิดจากเอ็นเทอโรแบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งตั้งตามชื่อนักวิทยาแบคทีเรียชาวฝรั่งเศส-สวิส อเล็กซานเดอร์ เยอร์ซิน กาฬโรคเป็นโรคที่อยู่ในสัตว์ฟันแทะ และหมัดเป็นตัวแพร่สู่มนุษย์ โรคดังกล่าวรู้จักกันตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากขอบเขตการเสียชีวิตและการทำลายล้างที่โรคอื่นเทียบไม่ได้ กาฬโรคเป็นโรคระบาดหนึ่งในสามโรคที่ต้องรายงานต่อองค์การอนามัยโลก (อีกสองโรค คือ อหิวาตกโรคและไข้เหลือง) กระทั่งเดือนมิถุนายน 2550 กาฬโรคสามารถแพร่ในอากาศ ผ่านการสัมผัสโดยตรง หรือโดยอาหารหรือวัสดุที่ปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับการติดเชื้อที่ปอดหรือสภาพสุขาภิบาล อาการของกาฬโรคขึ้นอยู่กับบริเวณที่มีเชื้อมากในแต่ละบุคคล เช่น กาฬโรคที่ต่อมน้ำเหลือง (bubonic plague) กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ (septicemic plague) ในหลอดเลือด กาฬโรคแบบมีปอดบวม (pneumonic plague) ในปอด ฯลฯ กาฬโรครักษาได้หากตรวจพบเร็ว และยังระบาดอยู่ในบางส่วนของโลก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกาฬโรค

กิโยตีน

กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและกิโยตีน

ฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝรั่งเศสเขตวีชี (La France de Vichy; Vichy France) คือรัฐเฉพาะกาลที่ปกครองประชาชนชาวฝรั่งเศส โดยเป็นรัฐที่สนับสนุนนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฝ่ายอักษะ

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและภาษาละติน

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมหาวิทยาลัยปารีส

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย (Erzherzogin Maria Lucia von Österreich., Archduchess Maria Lucia of Austria, Marie Louise d'Autriche, Maria Luisa d'Austria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า ลีโอโพลดีน่า ฟรานซิสก้า เธเรเซีย โยเซฟา ลูเซีย, (Maria Ludovika Leopoldina Francisca Theresia Josepha Lucia von Habsburg-Lorraine (Bonaparte)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย ก่อนที่จะทรงอภิเษกสมรสกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของนโปเลียน จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส (impératrice Marie Louise des Français) และเมื่อปีพ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมารี อ็องตัวแน็ต

มาดริด

มาดริด (Madrid) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสเปน มีประชากรอาศัยในตัวเมืองประมาณ 3.2 ล้านคน(ตัวเลขเมื่อปี 2005) และประชากรในเขตเมืองทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน (ตัวเลขเมื่อปี 2006) มาดริดยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาดริดด้ว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมาดริด

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมิลาน

มณฑลของโรมัน

มณฑล (province; provincia, พหูพจน์: provinciae) เป็นเขตการปกครองระดับพื้นฐาน ในสมัยโรมันโบราณ มาจนกระทั่งถึงสมัยจตุราธิปไตย (ราว ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมณฑลของโรมัน

มงแต็สกีเยอ

ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและมงแต็สกีเยอ

ยุทธการที่วอเตอร์ลู

ทธการที่วอเตอร์ลู เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ เมืองวอเตอร์ลู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเบลเยี่ยม, ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่วอเตอร์ลู

ยุทธการที่ไลพ์ซิช

ทธการที่ไลพ์ซิช (Battle of Leipzig) ระหว่างวันที่ 16 ถึง 19 ตุลาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่ไลพ์ซิช

ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์

ทธการเอาสเทอร์ลิทซ์ (Battle of Austerlitz; Bitva u Slavkova) หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ยุทธการสามจักรพรรดิ (Three Emperor Battle) เป็นหนึ่งในชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของนโปเลียน โดยสามารถทำลายกลุ่มประเทศที่ต่อต้านฝรั่งเศสลงได้ ในวันที่ 2 ธันวาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์

ยุคเรืองปัญญา

ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุคเรืองปัญญา

ยุคเหล็ก

หล็ก เกิดหลังจากยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มใช้เหล็กในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ยุคต่อมาหลังยุคเหล็ก คือ สมัยโบราณ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและยุคเหล็ก

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและระบอบเก่า

รัฐบาวาเรีย

ตการปกครองในรัฐบาวาเรีย บาวาเรีย (Bavaria) หรือ ไบเอิร์น (Bayern) เป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากรประมาณ 12.5 ล้านคน มีพื้นที่ประมาณ 70,548 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือเมืองมิวนิก เชื้อสายประชากรเป็นชาวบาวาเรีย 6.4 ล้านคน, ฟรังโคเนีย 4.1 ล้านคน, และสวาเบีย 1.8 ล้านคน รัฐบาวาเรียเป็นหนึ่งในรัฐที่เก่าแก่ที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป ก่อตั้งขึ้นเป็นดัชชีในกลางคริสศตวรรษที่ 17 ดยุกแห่งบาวาเรียเป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิสรรเจ้า (Prince-elector) แต่งตั้งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรัฐบาวาเรีย

รัฐลุยเซียนา

ลุยเซียนา (Louisiana, ออกเสียง หรือ) เป็นรัฐทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีลักษณะผสมผสานของวัฒนธรรมฝรั่งเศส ซึ่งในรัฐลุยเซียนามีการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาทางการของรัฐ ถึงแม้ว่าภาษาฝรั่งเศสจะมีใช้เพียงประมาณ 5% เมืองสำคัญของรัฐคือ นิวออร์ลีนส์ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในรัฐ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ แบตันรูช ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ นิวออร์ลีนส์เซนต์และนิวออร์ลีนส์ฮอร์เนตส์ ในปี 2550 ลุยเซียนามีประชากร 4,089,963คน ในทุกปี จะมีงานเฉลิมฉลองขนาดใหญ่จัดขึ้นที่นิวออร์ลีนส์ชื่องานว่า มาร์ดีกรา (Mardi Gras) จะมีขบวนพาเหรดและงานรื่นเริงต่างๆ โดยจัดในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์หรือต้นเดือนมีนาคม ในปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรัฐลุยเซียนา

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์การอแล็งเฌียง

ราชวงศ์กาโรแล็งเฌียง (หรือ ฌีแย็ง) (Carolingiens /ka.ʁɔ.lɛ̃,ʒjɛ̃/) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ในยุโรปหลังการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน เป็นอาณาจักรที่นับถิอศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก สืบทอดอำนาจมาจากราชวงศ์เมโรแว็งเฌียง ราชวงศ์เมโรแว็งเฌียงเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ ก่อตั้งโดยพระเจ้าคลอวิสที่ 1 เมื่อพระองค์ขึ้นปกครองแคว้นกอทหรืออาณาจักรแฟรงก์ พระองค์หันไปนับถือศาสนาคริสต์และนำศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ในอาณาจักร อย่างไรก็ตาม เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลง อำนาจทั้งหมดตกไปอยู่ในมือของขุนนางตระกูลคาโรลินเจียน โดยเฉพาะชาร์ล มาร์แตลที่สามารถยกกองทัพไปต้านทานการรุกรานของชาวมุสลิมจากคาบสมุทรไอบีเรีย ต่อมาใน พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์การอแล็งเฌียง

ราชวงศ์กาเปเซียง

ราชวงศ์กาเปเซียง (Capétiens) หรือ ราชวงศ์คะพีเชียน (Capetians) คือ ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยกลาง มีพระเจ้าอูก กาแป (Hugh Capet) แห่งฝรั่งเศส เป็นต้นพระราชวงศ์ ปัจจุบันราชวงศ์กาเปเซียงที่ยังคงมีพระชนม์ชีพและถือพระราชสมบัติอยู่ คือ กษัตริย์แห่งสเปนและแกรนด์ดุ๊กแห่งลักเซมเบิร์กผ่านทางราชวงศ์บูร์บง คำว่า "คาพีเชียน" มาจากพระนามพระเจ้าอูก กาแป ทั้งที่ "กาแป" มิได้เป็นนามสกุลแต่เป็นฉายานาม แต่กษัตริย์ฝรั่งเศสก็ทรงใช้ "กาแป" เป็นพระนามของพระราชสกุล เช่นเมื่อ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ทรงถูกประหารด้วยกิโยตีนใน ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์กาเปเซียง

ราชวงศ์วาลัว

ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเตียง สืบราชสมบัติฝรั่งเศสต่อจากราชวงศ์กาเปเตียงในค.ศ. 1328 และส่งต่อให้ราชวงศ์บูร์บงในค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์วาลัว

ราชวงศ์แพลนแทเจเนต

ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท (อังกฤษ: House of Plantagenet) หรือ ราชวงศ์อองชู หรือ เดิมเป็นตระกูลขุนนางมาจากฝรั่งเศส ซึ่งปกครองแคว้นอองชู (County of Anjou) ในภายหลังราชวงศ์นี้ได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษในปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์แพลนแทเจเนต

ราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง

ราชวงศ์เมโรวินเจียน (Merovingian; Mérovingiens) (ค.ศ. 481 - ค.ศ. 751) (พ.ศ. 1024 - พ.ศ. 1294) ราชวงศ์เมโรวินเจียนเป็นราชวงศ์ของชนเผ่าแฟรงก์หรือฟรอง ปกครองดินแดนฝรั่งเศสเป็นราชวงศ์แรกหลังเข้ายึดดินแดนโกล กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์คือพระเจ้าโคลวิสที่ 1 (Clovis I) ทรงประกาศพระองค์เป็นคริสต์ศาสนิกชน ได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์จากสมเด็จพระสันตะปาปา พระเจ้าโคลวิสทรงขยายอาณาเขตของฝรั่งเศสไปเกือบครอบคลุมอาณาเขตประเทศในปัจจุบันและดินแดนทางตะวันตกของเยอรมนี หลังสิ้นพระชนม์อาณาจักรฝรั่งเศสแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ อยู่ภายใต้การปกครองของพระโอรสหลายพระองค์ ก่อนที่จะรวมเป็นปึกแผ่นอีกครั้งในสมัยพระเจ้าโกลแตร์ที่ 1 (Clotaire I) กษัตริย์ในยุคหลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 (Dagobert I) (ครองราชย์ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง

ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชวงศ์เหงียน

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรเนเปิลส์

ราชอาณาจักรเนเปิลส์ (Kingdom of Naples) เป็นอาณาจักรที่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (Italian peninsula) หรือบางครั้งก็รู้จักกันอย่างสับสนกับ “ราชอาณาจักรซิซิลี” ซึ่งเป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งหลังจากการแยกตัวของซิซิลีจากราชอาณาจักรซิซิลีเดิมที่เป็นผลมาจากกบฏซิซิเลียนเวสเปิร์ส (Sicilian Vespers) ของปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชอาณาจักรเนเปิลส์

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume français) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม (Monarchie de Juillet) เป็นการฟิ้นฟูระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของประเทศฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เริ่มต้นด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมปี 1830 และสิ้นสุดลงเมื่อ 1848 ด้วยการปฏิวัติปี 1848 ความเป็นกษัตริย์ของพระองค์ได้ล่มสลาย และถูกล้มล้าง หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม

ลอมบาร์ด

มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์ดี right ลอมบาร์ด หรือ ลังโกบาร์ด หรือ ลองโกบาร์ด (Lombards หรือ Langobards หรือ Longobards, Langobardi) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่เดิมมาจากยุโรปเหนือและมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ จากบริเวณนั้นลอมบาร์ดก็เข้ารุกรานจักรวรรดิไบแซนไทน์ในคาบสมุทธอิตาลีในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและลอมบาร์ด

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและลอนดอน

ลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและลักเซมเบิร์ก

ลุดวิจชาวเยอรมัน

ลุดวิจชาวเยอรมัน (Ludwig der Deutsche) หรือ หลุยส์ชาวเยอรมัน (Louis the German; Louis II; Louis the Bavarian) (ค.ศ. 806 – 28 สิงหาคม ค.ศ. 876) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งบาวาเรียระหว่าง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและลุดวิจชาวเยอรมัน

วอลแตร์

ฟร็องซัว-มารี อารูเอ (François-Marie Arouet) หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ (Voltaire) เป็นปราชญ์, นักเขียน และนักประวัติศาสตร์ในยุคเรืองปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผู้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา, เสรีภาพในการพูด และยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรั.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและวอลแตร์

วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง

วาเลรี มารี เรอเน ฌอร์ฌ ฌิสการ์ แด็สแต็ง (Valéry Marie René Georges Giscard d'Estaing, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประธานาธิบดีฝรั่งเศส.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและวาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและศาสนาคริสต์

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

สมัยร้อยวัน

มัยร้อยวัน (les Cent-Jours, Hundred Days) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สงครามประสานมิตรครั้งที่เจ็ด (War of the Seventh Coalition) เป็นช่วงเวลาที่เริ่มตั้งแต่เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 หนีจากเกาะเอลบาขึ้นสู่แผ่นดินยุโรป เมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมัยร้อยวัน

สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์

มาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ หรือ สมาพันธรัฐแม่น้ำไรน์ (Rheinbund; États confédérés du Rhin (ชื่ออย่างเป็นทางการ) Confédération du Rhin (ชื่อในทางพฤตินัย)) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 ก่อตั้งจากรัฐเยอรมันทั้ง 16 รัฐ โดยจักรพรรดินโปเลียนหลังจากรบชนะจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ การลงนามในสนธิสัญญาเพรซเบิร์กได้นำไปสู่การก่อตั้งสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์ ซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3

thumbnail สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 (อังกฤษ: Leo III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 795 ถึง ค.ศ. 816 ลีโอที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสหภาพยุโรป

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสหรัฐ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสหประชาชาติ

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1

ณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 (Première République) สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1792 โดยสภากงว็องซียงแห่งชาติ หลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ซึ่งในยุคนี้มีการเข่นฆ่าชีวิตผู้คนมากมายตามคำสั่งของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ ประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ จึงทำให้ผู้คนเรียกยุคสมัยนั้นว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ก่อนที่รอแบ็สปีแยร์จะถูกประหารด้วยกิโยตีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 (Deuxième République France) คือประเทศฝรั่งเศสในช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1848 ถึงการรัฐประหารในปี 1851 โดยหลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ตเพื่อก่อตั้งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 ตลอดช่วงเวลาสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 มีประมุขแห่งรัฐเพียงคนเดียวคือประธานาธิบดีหลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 (Fourth French Republic),(Quatrième République Française) เป็นสาธารณรัฐที่ปกครองประเทศฝรั่งเศสระหว่าง พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2501 โดยมีรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฉบับที่ 4 ถือว่าเป็นสาธารณรัฐที่ได้ฟื้นฟูมาจากสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 ที่ได้ก่อตั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ก็ได้ประสบปัญหาและล้มเหลวในกาลต่อมา เนื่องจากนโยบายการปกครองที่ผิดพลาด มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

สาธารณรัฐโรมัน

รณรัฐโรมัน (Res pvblica Romana) (อังกฤษ: Roman Republic)เป็นยุคสมัยของอารยธรรมโรมันโบราณขณะมีรัฐบาลเป็นสาธารณรัฐ เริ่มต้นจากการโค่นล้มราชาธิปไตยโรมัน ซึ่งมักถือว่าเมื่อราว 509 ปีก่อน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสาธารณรัฐโรมัน

สุลต่าน ตวนกู สุลัยมาน ชาห์

ลต่าน ตวนกู สุลัยมาน ชาห์ หรือ สุลต่านสุลัยมาน(ชาห์) พระราชาธิบดีแห่งเมืองสงขลาองค์ที่ 1 (เกิด พ.ศ.? เมืองสาเลห์ เกาะชวา ได้รับแต่งตั้งจากราชสำนักอยุธยาเป็นข้าหลวงผู้สำเร็จราชการเมืองสงขลา พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสุลต่าน ตวนกู สุลัยมาน ชาห์

สทราซบูร์

ทราซบูร์ (Strasbourg) หรือ ชตราสส์บวร์ค (Straßburg) เป็นเมืองในแคว้นอาลซัส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของจังหวัดบา-แร็ง ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำอีลตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศเยอรมนี เป็นเมืองสำคัญด้านอุตสาหกรรมและการค้า ศูนย์กลางการขนส่ง และเมืองท่าริมฝั่งแม่น้ำที่สำคัญ ผลิตตับห่านบด สิ่งทอ สินค้าโลหะ เบียร์ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง เคมีภัณฑ์ มีอุตสาหกรรมการพิมพ์ การแปรรูปอาหาร และการท่องเที่ยว มีอาคารที่สำคัญ อย่างเช่น มหาวิหารสร้างในสมัยกลาง ซึ่งติดตั้งนาฬิกาดาราศาสตร์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 หอการค้า วังของผู้ว่าราชการจังหวัด ศาลาว่าการ พิพิธภัณฑ์ เป็นสถานที่ประชุมของรัฐสภายุโรปมาตั้งแต..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสทราซบูร์

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

สงครามฝิ่น

รือ เอชอีไอซี เนเมซิส ทำลายเรือสำเภาของจีนระหว่างยุทธนาวีชุนปิครั้งที่สอง วันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1841 การปะทะที่กว่างโจวระหว่างสงครามฝิ่นครั้งที่สองสงครามฝิ่น (Opium Wars; 鸦片战争) เป็นสงครามสองครั้งในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทอังกฤษ-จีนในเรื่องการค้าของบริเตนในจีนและเอกราชของจีน ข้อพิพาทนี้มีสงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามฝิ่น

สงครามร้อยปี

งครามร้อยปี (Hundred Years' War) เป็นชุดความขัดแย้งระหว่าง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามร้อยปี

สงครามสามสิบปี

งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสามสิบปี

สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย

งครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย (War of the Austrian Succession) เป็นสงครามที่เกี่ยวข้องกับทุกมหาอำนาจในทวีปยุโรป สงครามเริ่มจากการที่เมื่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เสด็จสวรรคตใน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย

สงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์

งครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ (ค.ศ. 1733 - 1738) เป็นสงครามครั้งใหญ่ของชาวยุโรปซึ่งปะทุขึ้นจากสงครามกลางเมืองในประเทศโปแลนด์ อันมีสาเหตุสืบเนื่องมาจากการสืบราชสมบัติต่อจากพระเจ้าออกุสตุสที่ 2 แห่งโปแลนด์ ความขัดแย้งดังกล่าวได้ขยายเป็นวงกว้างจากการที่ชาติมหาอำนาจยุโรปต่างให้การสนับสนุนคู่ขัดแย้งแต่ละฝ่ายโดยมุ่งหวังเรื่องผลประโยชน์แห่งชาติของตนเองเป็นหลัก ฝรั่งเศสและสเปน ซึ่งเป็นชาติที่มีกษัตริย์ผู้ปกครองจากราชวงศ์บูร์บงร่วมกัน พยายามทดสอบกำลังอำนาจของราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรียที่มีอยู่ในยุโรปตะวันตก ราชอาณาจักรปรัสเซียเองก็ทำเช่นเดียวกัน ขณะที่ฝ่ายซัคเซินและรัสเซียได้เคลื่อนพลเพื่อสนับสนุนชัยชนะของโปแลนด์ในตอนท้าย การสู้รบที่เกิดขึ้นไม่กี่ครั้งในโปแลนด์ได้นำผลไปสู่การขึ้นเสวยราชสมบัติของออกุสตุสที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ฝักใฝ่รัสเซียและซัคเซิน โดยได้รับการสนับสนุนทางการเมืองจากราชวงศ์ฮับส์บูร์ก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามครูเสด

สงครามครูเสดครั้งที่ 2

“สภาสงครามครูเสดครั้งที่ 2” -- พระเจ้าคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี, พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และพระเจ้าบอลด์วินที่ 3 แห่งเยรูซาเลม สงครามครูเสดครั้งที่ 2 (Second Crusade) (ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามครูเสดครั้งที่ 2

สงครามคาบสมุทร

งครามคาบสมุทร (Peninsular War) เป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่างจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียนกับฝ่ายพันธมิตรอันประกอบด้วยสหราชอาณาจักร, สเปน และ โปรตุเกส เพื่อแย่งชิงคาบสมุทรไอบีเรียในช่วงสงครามนโปเลียน สงครามเริ่มขึ้นเมื่อนายพลฌ็อง-อ็องด็อชแห่งฝรั่งเศสและกองทหารในบัญชาที่ยืมมาจากสเปน อาศัยช่วงที่โปรตุเกสขาดแคลนกำลัง เข้ารุกรานและยึดครองโปรตุเกสในปลายปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามคาบสมุทร

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามปฏิวัติอเมริกา

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามไครเมีย

งครามไครเมีย (Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856)Kinglake (1863:354)Sweetman (2001:7) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว สงครามไครเมียเป็นที่รู้จักกันเนื่องด้วยข้อผิดพลาดทางพลาธิการและยุทธวิธีระหว่างการทัพทางบกของทั้งสองฝ่าย ส่วนกองทัพเรือนั้น การทัพฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จในการทำลายเรือส่วนใหญ่ของกองทัพเรือรัสเซียในทะเลดำ แม้กระนั้น บางครั้งสงครามดังกล่าวถูกมองว่าเป็นหนึ่งในสงคราม "สมัยใหม่" ครั้งแรก ๆ เพราะมัน "ได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคซึ่งส่งผลกระทบต่อเส้นทางสงครามในอนาคต" ซึ่งรวมไปถึงการใช้ทางรถไฟและโทรเลขในทางยุทธวิธีเป็นครั้งแรกด้วยRoyle.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามไครเมีย

สงครามเก้าปี

งครามเก้าปี (Nine Years' War) หรือ สงครามมหาพันธมิตร (War of the Grand Alliance) หรือ สงครามสหพันธ์ออกสบูร์ก (War of the League of Augsburg) หรือที่เคยเรียกว่า สงครามสืบบัลลังก์พาลาไทน์ (War of the Palatine Succession) หรือ สงครามสืบราชบัลลังก์อังกฤษ (War of the English Succession) หรือบางครั้งก็เรียกว่า สงครามวิลเลียมไมท์ (Williamite War) ในไอร์แลนด์ หรือ สงครามพระเจ้าวิลเลียม (King William's War) ในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามเก้าปี

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและสงครามเจ็ดปี

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและออทโท ฟอน บิสมาร์ค

อัศวินเทมพลาร์

ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอัศวินเทมพลาร์

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอัตติลา

อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ

อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี พระคาร์ดินัลดยุกแห่งรีเชอลีเยอ (Armand Jean du Plessis de Richelieu, Cardinal-Duc de Richelieu; 9 กันยายน ค.ศ. 1585 - 4 ธันวาคม ค.ศ. 1642) เป็นขุนนาง บาทหลวง และรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศส อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซีได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายกแห่งลูว์ซงในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ

อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก

ราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันตกทางซ้ายของภาพที่ปัจจุบันคือฝรั่งเศส เวสต์ฟรังเกีย หรือ อาณาจักรแฟรงค์ตะวันตก (West Francia หรือ West Frankish Kingdom) เป็นราชอาณาจักรที่รุ่งเรืองอยู่เพียงระยะเวลาอันสั้น ตั้งอยู่ทางตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ได้ตกมาเป็นของจักรพรรดิคาร์ลพระเศียรล้านตามสนธิสัญญาแวร์เดิงปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก

อาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส

อาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส (Collectivité d'outre-mer: COM) มีฐานะเสมือนแคว้นในประเทศฝรั่งเศส โดยรวมดินแดนโพ้นทะเลเดิมและดินแดนอื่นๆ ซึ่งมีสถานะคล้ายคลึงกัน โดยตั้งเป็น "อาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส (Collectivité d'outre-mer: COM)" จากการแก้ไขรัฐธรรมนูญในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส

อูเกอโนต์

อูเกอโนต์ (huguenots) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาของคริสเตียน (โปรเตสแตนต์) ฝรั่งเศสผู้นับถือขนบปฏิรูป คำนี้ใช้เรียกสมาชิกคริสตจักรปฏิรูปแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 ถึงประมาณปี 1800 คำนี้มีจุดกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส อูเกอโนต์เป็นคริสเตียนฝรั่งเศสซึ่งมาจากทางเหนือของประเทศฝรั่งเศสเป็นหลัก ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากงานเขียนของนักเทววิทยาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 และผู้สนับสนุนขนบปฏิรูปของนิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งขัดกับประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเยอรมันนับถือนิกายลูเทอแรนในอาลซัส มอแซลและมงเบลียาร์ ฮันส์ ฮิลเลอร์แบรนด์ (Hans Hillerbrand) ในสารานุกรมนิกายโปรเตสแตนต์อ้างว่าชุมชนอูเกอโนต์มีประชากรมากถึงร้อยละ 10 ของประชากรฝรั่งเศสในวันก่อนการสังหารหมู่วันนักบุญบาร์โทโลมิว โดยลดลงเหลือร้อยละ 7–8 เมื่อประมาณปี 1600 และยิ่งลดลงหลังการเบียดเบียนอย่างหนักซึ่งเริ่มต้นอีกหลังพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบลโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จำนวนของอูเกอโนต์สูงสุดประมาณเกือบสองล้านคนในปี 1562 โดยส่วนใหญ่กระจุกอยู่ส่วนใต้และตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เมื่ออูเกอโนต์มีอิทธิพลและแสดงออกซึ่งศรัทธาของพวกตนอย่างเปิดเผยมากขึ้น ความเป็นปรปักษ์ของคาทอลิกก็เติบโตขึ้นด้วย แม้มีการผ่อนปรนทางการเมืองและพระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนาจากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส มีความขัดแย้งทางศาสนาหลายครั้งตามมา เรียก สงครามศาสนาฝรั่งเศส ซึ่งสู้รบกันเป็นพัก ๆ ตั้งแต่ปี 1562 ถึง 1598 อูเกอโนต์มีแฌน ดาเบร (Jeanne d'Albret) และพระราชโอรส อนาคตพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และเจ้ากองเด สงครามยุติด้วยพระราชกฤษฎีกานองซ์ ซึ่งให้อัตตาณัติศาสนา การเมืองและทหารพอสมควรแก่อูเกอโนต์ กบฏอูเกอโนต์ในคริสต์ทศวรรษ 1620 ทำให้มีการเลิกเอกสิทธิ์ทางการเมืองและทางทหารของพวกเขา พวกเขายังคงไว้ซึ่งบทบัญญัติทางศาสนาของพระราชกฤษฎีกานองซ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ค่อย ๆ เพิ่มการเบียดเบียนอูเกอโนต์จนทรงตราพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (ปี 1685) ยุติการรับรองนิกายโปรเตสแตนต์ใด ๆ ตามกฎหมายในประเทศฝรั่งเศสและบีบให้อูเกอโนต์เข้ารีตหรือหลบหนีในระลอกดราโกนาเดอ (dragonnades) รุนแรง พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทำให้ประชากรอูเกอโนต์ฝรั่งเศส 800,000 ถึง 900,000 คนลดเหลือ 1,000 ถึง 1,500 คน กระนั้น อูเกอโนต์จำนวนเล็กน้อยยังเหลือรอดและเผชิญการเบียดเบียนต่อเนื่องมาถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เสด็จสวรรคตในปี 1774 ลัทธิคาลวินในฝรั่งเศสเกือบสูญสิ้นทั้งหมด การเบียดเบียนคริสเตียนยุติลงอย่างเป็นทางการด้วยพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (พระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนา) ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงลงพระปรมาภิไธยในปี 1787 สองปีให้หลัง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองปี 1789 ให้คริสเตียนได้รับสิทธิเท่าเทียมเป็นพลเมืองAston, Religion and Revolution in France, 1780–1804 (2000) pp 245–50 ผู้อพยพอูเกอโนต์จำนวนมากอพยพไปยังรัฐโปรเตสแตนต์อย่างอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์ สาธารณรัฐดัตช์ รัฐผู้คัดเลือกบรันเดนบูร์กและรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ดัชชีปรัสเซีย หมู่เกาะแชนเนล ตลอดจนไอร์แลนด์ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกแต่โปรเตสแตนต์ควบคุม พวกเขายังแพร่ไปยังอาณานิคมแหลมดัตช์ในแอฟริกาใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกดัตช์ แคริบเบียน นิวเนเธอร์แลนด์และอาณานิคมอังกฤษหลายแห่งในทวีปอเมริกาเหนือ ครอบครัวจำนวนน้อยไปยังรัสเซียที่นับถือออร์โธด็อกซ์และควิเบกที่นับถือคาทอลิก ปัจจุบัน อูเกอโนต์ส่วนใหญ่กลืนเข้าสู่สังคมและวัฒนธรรมต่าง ๆ แต่ชุมชนหลงเหลือกามีซาร์ (Camisards) ในเทือกเขาซีเวน (Cévennes) สมาชิกของคริสตจักรโปรเตสแตนต์รวมฝรั่งเศส สมาชิกฝรั่งเศสของคริสตจักรปฏิรูปโปรเตสแตนต์อาลซัสและลอแรนซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยอรมัน ตลอดจนกลุ่มอูเกอโนต์ในประเทศอังกฤษและออสเตรเลียยังคงความเชื่อของพวกตนและการเรียกชื่ออูเกอโนต.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอูเกอโนต์

อนารยชน

นักรบเจอร์มานิค” โดย ฟิลิปป์ คลือเวอร์ (Philipp Clüver) ใน “Germania Antiqua” (ค.ศ.1616) อนารยชน (barbarian) เป็นคำที่มีความหมายในทางเหยียดหยามสำหรับผู้ที่ถือกันว่าไม่มีวัฒนธรรมที่อาจจะเป็นการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงกลุ่มชนในชาติหรือกลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic group) โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงกลุ่มชนที่มีลักษณะเป็นเผ่าพันธ์ (tribal society) จากมุมมองของวัฒนธรรมเมืองที่เห็นว่าเป็นวัฒนธรรมที่ด้อยกว่าหรือชื่นชมว่าเป็นคนเถื่อนใจธรรม (noble savage) เมื่อใช้เป็นสำนวน “อนารยชน” ก็อาจจะหมายถึงผู้ที่เป็นคนทารุณ, โหดร้าย, นิยมสงคราม และไร้ความรู้สึกต่อผู้อื่น การใช้คำว่า “อนารยชน” มาจากวัฒนธรรมกรีก-โรมันแต่คำทำนองเดียวกันก็พบในวัฒนธรรมอื่นๆ ด้ว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและอนารยชน

ฌอร์ฌ ปงปีดู

จอร์จ จ็อง แรมง ปงปีดู (Georges Jean Raymond Pompidou, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 – 2 เมษายน พ.ศ. 2517) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:ประธานาธิบดีฝรั่งเศส.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฌอร์ฌ ปงปีดู

ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฌัก ชีรัก

ฌากอแบ็ง

การประชุมใหญ่สโมสรฌากอแบ็งในปีค.ศ. 1791 สมาคมเหล่าสหายของรัฐธรรมนูญ (Société des amis de la Constitution) หรือหลังเปลี่ยนชื่อในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฌากอแบ็ง

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและฌ็อง-ฌัก รูโซ

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิชาลส์ที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (1 ตุลาคม ค.ศ. 1685 - 20 ตุลาคม ค.ศ. 1740) ชาลส์เกิด ณ เวียนนาเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และอีลีนอร์ มักดาเดอลาแห่งนึมเบอร์ก อภิเษกสมรสกับ เอลิซาเบธ คริสตีนแห่งบรันสวิก มีธิดา คือ อารค์ดัชเชสมาเรีย เทเรซ่า และ อารค์ดัชเชส มาเรีย แอนนา พระองค์ทรงเข้าพิธีบรมราชาภิเษก ณ แฟรงเฟรต.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3

จักรพรรดิโลทาร์ที่ 1

ักรพรรดิโลทาร์ที่ 1แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Lothaire, Lothar, Lotario, Lothair I) (ค.ศ. 795 – 29 กันยายน ค.ศ. 855) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิโลทาร์ที่ 1

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กษัตริย์แห่งฮังการีและโครเอเชีย ระหว่างปี 1790 ถึง 1792 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส พระองค์ขึ้นครองบัลลังก์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 ที่เสด็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมตามรอยพระเชษฐาของพระอง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรวรรดิการอแล็งเฌียง

ร์ล มาร์แตลในยุทธการที่ตูร์ที่ทรงหยุดยั้งการรุกรานของอุมัยยะห์เข้ามาในยุโรป จักรวรรดิการอแล็งเฌียง (Carolingian Empire) เป็นคำประวัติศาสตร์ที่บางครั้งก็หมายถึงราชอาณาจักรแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียง ที่เห็นกันว่าเป็นราชวงศ์ที่ก่อตั้งฝรั่งเศสและเยอรมนี จักรวรรดิการอแล็งเฌียงอาจจะถือว่าเป็นปลายสมัยจักรวรรดิแฟรงก์หรือต้นสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้ จักรวรรดิการอแล็งเฌียงเป็นการเน้นถึงการที่สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ทรงราชาภิเษกชาร์เลอมาญเป็นจักรพรรดิโรมันในปี ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิการอแล็งเฌียง

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง

ักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง (Deuxième Empire français) เป็นจักรวรรดิปกครองโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 และที่ 3.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง

ักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง (Premier Empire) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า (L'Empire des Français; ล็องปีร์เดส์ฟร็องแซส์ แปลว่า จักรวรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส) ยังรู้จักกันในนาม มหาจักรวรรดิฝรั่งเศส และ จักรวรรดินโปเลียน โดยเป็นจักรวรรดิที่สถาปนาขึ้นโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส โดยเป็นจักรวรรดิที่มีส่วนสำคัญและมีอำนาจอย่างมากในทวีปยุโรปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเปลี่ยนผ่านมาจากคณะกงสุลฝรั่งเศส จักรวรรดิยังเป็นผู้ริเริ่มการทำสงครามมากมายในยุโรปจากนโยบายการต่างประเทศของจักรพรรดินโปเลียน ที่มุ่งเน้นจะยึดครองทวีปยุโรปไว้กับฝรั่งเศสแต่เพียงผู้เดียว.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิรัสเซีย

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

ักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส (French colonial empire) ประกอบด้วยอาณานิคมโพ้นทะเล, รัฐในอารักขา และ รัฐบริวารที่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลฝรั่งเศสในกรุงปารีส ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสถูกแบ่งออกเป็นสองยุค คือจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่หนึ่ง ซึ่งสิ้นสุดลงในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดินิยม

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิโรมัน

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจักรวรรดิเยอรมัน

จูเลียส ซีซาร์

กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ (Caivs/Gaivs Ivlivs Caesar) หรือ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar; กรกฎาคม 100 ปีก่อน ค.ศ. – 15 มีนาคม 44 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นรัฐบุรุษ แม่ทัพ และผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอันเลื่องชื่อชาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์อันนำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน ใน 60 ปีก่อน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและจูเลียส ซีซาร์

ธงชาติฝรั่งเศส

งชาติฝรั่งเศส (le tricolore หรือ le drapeau bleu-blanc-rouge, เลอทรีกอลอร์ - แปลว่า ธงไตรรงค์ หรือ ธงสามสี ส่วน เลอดราโปเบลอ-บล็อง-รูฌ - แปลว่า ธงน้ำเงิน-ขาว-แดง) ธงนี้เป็นธงต้นแบบที่หลายๆ ประเทศนำมาดัดแปลงใช้เป็นธงชาติของตนเอง รวมทั้งธงชาติไทยด้วย ลักษณะของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยริ้วธง 3 สี คือ สีน้ำเงิน สีขาว และสีแดง เรียงกันตามแนวตั้ง แต่ละริ้วมีความกว้างเท่ากัน สำหรับธงเรือประจำชาติฝรั่งเศส ใช้เป็นธงค้าขายและธงรัฐนาวีนั้นคล้ายกับธงชาติ แต่สัดส่วนความกว้างของริ้วธงแต่ละสีจะเป็น 30:33:37.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและธงชาติฝรั่งเศส

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและทวีปเอเชีย

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ดัชชีบราบันต์

แผนที่ของดัชชีแห่งบราบองต์ อาณาจักรสมเด็จพระสังฆราชแห่งลีเยช (ค.ศ. 1477) ดัชชีแห่งบราบองต์ (Duchy of Brabant) เป็นดัชชีในประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในบริเวณที่ในปัจจุบันคือบริเวณบราบองต์เฟล็มมิช, บราบองต์วอลลูน (Walloon Brabant), อันท์เวิร์พ และบรัสเซลส์ ในประเทศเบลเยียม และเลยไปในบริเวณนอร์ธบราบองต์ในเนเธอร์แลนด์ด้วย ในสมัยโรมันโบราณบราบองต์ตั้งอยู่ในบริเวณจังหวัดโรมันชื่อกาลเลียเบลจิคา และเจอร์มาเนียใต้ และเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์จนมาแทนที่ด้วยชนเจอร์มานิคซึ่งเป็นการยุติความมีอำนาจของจักรวรรดิโรมันในบริเวณนี้ เมืองสำคัญของบราบองต์ก็ได้แก่บรัสเซลส์, อันท์เวิร์พ, ลูแวง (Leuven) และ เบรดา ชื่อของบริเวณนี้บันทึกเป็นครั้งแรกในสมัยคาโรลิงเกียนว่า “pagus Bracbatensis” ที่เป็นบริเวณที่ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำเชลด์ท (Scheldt) และแม่น้ำ Dijle ที่มาจากคำว่า “bracha” ที่แปลว่า “ใหม่” และคำว่า “bant” ที่แปลว่า “บริเวณ”.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและดัชชีบราบันต์

คอร์ซิกา

อร์ซิกา (Corsica), กอร์ส (Corse) หรือ กอร์ซีกา (Corsica) เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 4 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (รองจากเกาะซิซิลี ซาร์ดิเนีย และไซปรัส) ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันตกของประเทศอิตาลี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส และทิศเหนือของซาร์ดิเนีย คอร์ซิกาเป็นเป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส แต่ที่จริงแล้วตามกฎหมาย คอร์ซิกามีฐานะเป็นประชาคมดินแดน (collectivité territoriale) ของฝรั่งเศส จึงมีอำนาจมากกว่าแคว้นอื่น ๆ ในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่อยู่บ้าง แต่ในการสนทนาทั่วไป คอร์ซิกามักจะถูกเรียกว่าเป็น "แคว้น" และอยู่ในรายนามแคว้นของประเทศฝรั่งเศสตลอดมา ทั้ง ๆ ที่เป็นเกาะแยกออกมาจากแผ่นดินใหญ่โดยมีทะเลลิกูเรียนขวางไว้ มีกลุ่มการเมืองหลายกลุ่มที่ต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส เช่น แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติคอร์ซิก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและคอร์ซิกา

คาบสมุทรอิตาลี

ทางอากาศของคาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรอิตาลี หรือ คาบสมุทรแอเพนไนน์ (Penisola italiana, Penisola appenninica) เป็นคาบสมุทรที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาแอลป์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเอเดรียติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลไอโอเนียน และทางทิศตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียนและทะเลลิกูเรียน คาบสมุทรนี้มีรูปร่างคล้ายรองเท้าบูท โดยบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมีเทือกเขาแอเพนไนน์เป็นแกนกลาง บริเวณตอนเหนือมีที่ราบลุ่มแม่น้ำโปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์กับเทือกเขาแอเพนไนน์นั้น เป็นที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม และเป็นที่ตั้งเมืองสำคัญของประเทศอิตาลี เช่น มิลาน ตูริน เวนิส โบโลญญา ปาร์มา เวโรนา คาบสมุทรอิตาลีมีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 290 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ มีพื้นที่ประมาณ 260,000 ตารางกิโลเมตร (ไม่นับรวมพื้นที่เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย) เป็นคาบสมุทรที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจาก คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรไอบีเรีย และคาบสมุทรบอลข่าน ตามลำดับ เมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรอิตาลีเรียงตามลำดับ 4 อันดับแรกได้แก่ โรม มิลาน เนเปิลส์ และตูริน ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรอิตาลีเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ที่นิยมปลูกคือ มะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก และองุ่นเพื่อใช้ทำไวน์ เมืองท่าที่สำคัญบนคาบสมุทรอิตาลีได้แก่ เจนัว เวนิส และเนเปิล.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและคาบสมุทรอิตาลี

คาร์เธจ

ร์เธจ (Carthago) เป็นเมืองโบราณ ปัจจุบันตั้งอยู่ในเมืองตูนิส ประเทศตูนีเซี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและคาร์เธจ

คำปฏิญาณสนามเทนนิส

ำปฏิญาณสนามเทนนิส (Serment du Jeu de Paume; แซร์ม็งดูเฌอเดอโปม) คือเหตุการณ์ครั้งสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส คำปฏิญาณซึ่งได้รับสัตยาบันของบุคคลทั้งสิ้น 576 คน จากสมาชิกฐานันดรที่สามทั้งหมด 577 คน ผู้ถูกกีดกันออกจากการประชุมสภาฐานันดรเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและคำปฏิญาณสนามเทนนิส

ตระกูลกาแป

นตนาการของอูก กาแปผู้เป็นต้นตระกูลกาแป ตระกูลกาแป หรือ สายตรงจากราชวงศ์กาเปเซียง (Les Capétiens หรือ la Maison capétienne) หรือบางครั้งก็เรียกว่า "ตระกูลฝรั่งเศส" (la maison de France) หรือเรียกกันง่าย ๆ ว่า "กาแป" เป็นประมุขผู้ปกครองราชอาณาจักรฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและตระกูลกาแป

ตูลูซ

ตูลูซ (Toulouse) เป็นเทศบาลในจังหวัดโอต-การอน ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ซึ่งติดกับประเทศสเปน แต่มีพรมแดนธรรมชาติ คือ เทือกเขาพิเรนีสคั่นไว้ ตูลูซเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรอยู่ราว 1,300,000 คน เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินของโลก โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่และโรงงานของแอร์บัส นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของอินเทลภาคพื้นยุโรปตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของฝรั่ง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและตูลูซ

ซาวอย

งของซาวอย ซึ่งเป็นธงเดียวกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างค.ศ. 1200 ถึง ค.ศ. 1350 ซาวอย (Savoy), ซาวัว (Savoie) หรือ ซาวอยา (Savoia) คือภูมิภาคในยุโรปที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเทือกเขาแอลป์ที่เกิดขึ้นหลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรเบอร์กันดีของแฟรงค์ ดินแดนในอดีตของซาวอยเป็นของประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลีในปัจจุบัน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและซาวอย

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen) เป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กำหนดให้สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชลเป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมีอยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (assemblée nationale constituante) รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศสกอตแลนด์

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศสวีเดน

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศอียิปต์

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศแอลจีเรีย

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศแคนาดา

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศเวียดนาม

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและประเทศเนเธอร์แลนด์

ปรัสเซีย

ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและปรัสเซีย

ปืน

ูเอสเอส ไอโอว่า ยิงปืนขณะทำการฝึกยิงใกล้เกาะวีคูส์ เปอร์โต ริโค เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1984 ปืน คืออาวุธสำหรับยิงลูกกระสุนปืน เพื่อให้เข้าสู่เป้าหมาย โดยอาศัยหลักการเผาไหม้ของดินปืนให้เกิดแก๊สผลักดันลูกกระสุนให้ออกจากปากลำกล้องด้วยความเร็วสูง ลูกกระสุนที่ออกจากปากลำกล้องจะการเคลื่อนที่ในแนววิถีราบ ส่วนปืนที่มีขนาดใหญ่ เช่น ปืนใหญ่นิยมใช้การเคลื่อนที่วิถีโค้ง ปืนมีทั้งที่เป็นอาวุธประจำกายเช่น ปืนสั้น ปืนลูกซอง ปืนไรเฟิล ปืนกล หรือ เป็นอาวุธติดตั้งกับพาหนะเช่น ปืนใหญ่รถถัง ปืนกลอากาศในเครื่องบิน ปืนประจำเรือ หรือเป็นอาวุธหนักในสนามรบเช่น ปืนใหญ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและปืน

นอร์ม็องดี

นอร์ม็องดี อาจหมายถึง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนอร์ม็องดี

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนาซีเยอรมนี

นิส

นิส (Nice) เป็นเมืองในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ริมชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ระหว่างเมืองมาร์แซย์ของฝรั่งเศสกับเมืองเจนัวของอิตาลี มีประชากรอยู่ 347,060 คนโดยประมาณ ตามข้อมูลปี 2006 ถือเป็นเมืองการท่องเที่ยวและถือเป็นเมืองชั้นนำของรีสอร์ตแถบเฟรนช์ริเวียรา หมวดหมู่:เมืองในจังหวัดอาลป์-มารีตีม หมวดหมู่:เฟรนช์ริวีเอรา.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนิส

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนีกอลา ซาร์กอซี

นีแอนเดอร์ทาล

นีแอนเดอร์ทาล คือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยจัดอยู่ในสกุลเดียวกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน คือ Homo นีแอนเดอร์ทาลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อราว 160 ปีที่แล้ว ที่ถ้ำเฟลด์โฮเฟอร์ในหุบเขาเนอันเดอร์ ใกล้เมืองดึสเซลดอร์ฟ ทางตอนเหนือของเยอรมนี โดยคนงานเหมืองขุดค้นพบกระดูกโบราณซึ่งตอนแรกเข้าใจว่าเป็นหมี และได้ส่งกระดูกนั้นแก่นักธรรมชาติวิทยา โยฮันน์ คาร์ล ฟูลรอทท์ ฟูลรอทท์จึงได้ส่งต่อให้แก่นักกายวิภาควิทยา เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียดแล้วจึงพบว่าเป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่ จึงให้ชื่อว่า "นีแอนเดอร์ทาล" เพื่อเป็นเกียรติแก่หุบเขาเนอันเดอร์ สถานที่ที่ค้นพบ โดยรวมนีแอนเดอร์ทาลมีรูปร่างที่กำยำล่ำสัน แข็งแรง รวมถึงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีกว่ามนุษย์ปัจจุบัน แต่มีระดับสติปัญญาที่ต่ำกว่า ด้วยเหตุนี้เป็นสาเหตุหลักที่เชื่อว่าทำให้สูญพันธุ์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ถอดรหัสพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลได้เป็นผลสำเร็จเมื่อปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนีแอนเดอร์ทาล

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและนครโฮจิมินห์

แกลเลียนาร์โบเนนซิส

แกลเลียนาร์โบเนนซิส (สีเหลือง) แกลเลียนาร์โบเนนซิส หรือ กัลเลียนาร์โบเนนซิส (อังกฤษ, Gallia Narbonensis) เป็นมณฑลหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นภูมิภาคล็องก์ด็อกและพรอว็องส์ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบัน เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "แกลเลียทรานแซลไพนา" ซึ่งเดิมเป็นชื่อเรียกบริเวณกอล ที่อยู่บริเวณเทือกเขาแอลป์จากอิตาเลีย แกลเลียนาร์โบเนนซิสมีฐานะเป็นจังหวัดโรมันเมื่อปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช และเป็นดินแดนสำคัญนอกคาบสมุทรอิตาลีดินแดนแรกของจักรวรรดิ ทางตอนใต้ของจังหวัดจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ส่วนทางตอนเหนือและทางตะวันตกจรดทิวเขาเซแวนและเทือกเขาแอลป์ ต่อมาแกลเลียทรานแซลไพนาเปลี่ยนชื่อเป็น "แกลเลียนาร์โบเนนซิส" ตามชื่อของนาร์โบมาร์ตีอุส (นาร์บอน) เมืองหลวงที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 118 ก่อนคริสต์ศักราช โรมันเรียกจังหวัดนี้ว่า "โปรวินเกียนอสตรา" (จังหวัดของเรา) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "โปรวินเกีย" ต่อมาแผลงมาเป็นชื่อภูมิภาคหนึ่งของฝรั่งเศสคือ "พรอว็องส์".

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแกลเลียนาร์โบเนนซิส

แกลเลียแอควิเทเนีย

จักรวรรดิโรมันระหว่างรัชสมัยของจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงภาพจังหวัดแกลเลียแอควิเทเนียในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของกอล แกลเลียแอควิเทเนีย หรือ กัลเลียอากวีตาเนีย (อังกฤษ, Gallia Aquitania) เป็นจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน มีเขตแดนติดต่อกับจังหวัดแกลเลียลุกโดเนนซิส, แกลเลียนาร์โบเนนซิส และฮิสเปเนียแทร์ราโคเนซิสJohn Frederick Drinkwater (1998).

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแกลเลียแอควิเทเนีย

แกลเลียเบลจิกา

แผนที่แสดงที่ตั้งของจังหวัดแกลเลียเบลจิกา ด้านซ้ายของภาพ แกลเลียเบลจิกา หรือ กัลเลียเบลกีกา (อังกฤษ, Gallia Belgica) บางครั้งเรียกว่า แกลเลียพริมา หรือ กัลเลียปรีมา (อังกฤษ, Belgica Prima) เป็นจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของประเทศเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส และทางตะวันตกของเยอรมนีในปัจจุบัน ชนพื้นเมืองทางตอนใต้ของแกลเลียเบลจิกาประกอบด้วยกลุ่มชนเคลต์และเยอรมัน ซึ่งนิยมเรียกว่าเบลไก ตามคำกล่าวของจูเลียส ซีซาร์ พรมแดนระหว่างแกลเลียกับเบลจิกาคือแม่น้ำมาร์นและแม่น้ำแซน และพรมแดนระหว่างแกลเลียเบลจิกากับเจอร์เมเนียคือแม่น้ำไรน์ ภูมิภาคนี้คือหัวใจทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ ที่ปัจจุบันสอดคล้องกับที่ตั้งของรัฐในกลุ่มเบเนลักซ์ซึ่งได้แก่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และลักเซมเบิร์ก รวมทั้งฟลานเดอส์ของฝรั่งเศสและบางส่วนของไรน์ลัน.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแกลเลียเบลจิกา

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแม่น้ำไรน์

แร็งส์

แร็งส์ (Reims) เป็นเมืองในจังหวัดมาร์นในแคว้นช็องปาญาร์แดนในประเทศฝรั่งเศส เมืองแร็งส์ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส ราว 129 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของปารีส แร็งส์ก่อตั้งขึ้นโดยกอลและกลายมาเป็นเมืองสำคัญระหว่างสมัยจักรวรรดิโรมัน ต่อมาแร็งส์ก็มามีบทบาทสำคัญต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในการเป็นสถานที่สำหรับการทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มหาวิหารนอเทรอดามแห่งแร็ง.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแร็งส์

แคว้นลอมบาร์เดีย

ทิวทัศน์ของแคว้นลอมบาร์เดีย ลอมบาร์เดีย (Lombardia), ลุมบาร์ดีอา (ลุมบาร์ตตะวันตก: Lombardia) หรือ ลอมบาร์ดี (Lombardy) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นของประเทศอิตาลี มีเมืองหลักคือมิลาน (มีลาโน) ประชากร 1 ใน 6 ของอิตาลีอาศัยอยู่ในแคว้นนี้ และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 1 ใน 5 ของอิตาลีผลิตขึ้นในแคว้นนี้ ลอมบาร์เดียใช้ภาษาอิตาลีเป็นภาษาราชการ ถึงแม้ว่าจะมีภาษาท้องถิ่นอันเก่าแก่ต่าง ๆ มากมาย (ภาษาลุมบาร์ตตะวันออกและลุมบาร์ตตะวันตก) และยังมีผู้พูดภาษาเอมีเลียในจังหวัดมันโตวา, ปาวีอา และเครโมนา จุดหมายปลายทางสำคัญที่นักท่องเที่ยวนิยมประกอบด้วยเมืองทางประวัติศาสตร์ เช่น มิลาน, เบรชชา, มันโตวา, ปาวีอา, เครโมนา, แบร์กาโม และมีทะเลสาบการ์ดา, โคโม, มัจโจเร และอีเซโอ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแคว้นลอมบาร์เดีย

แคว้นอาลซัส

อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแคว้นอาลซัส

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี

โฮจิมินห์

มินห์ (Hồ Chí Minh, โห่ จี๊ มิญ; คำแปล "แสงสว่างที่นำทาง") เป็นนักปฏิวัติชาวเวียดนาม ซึ่งในภายหลังได้กลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) หลังจากสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ไซ่ง่อน เมืองหลวงเก่าของเวียดนามใต้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นนครโฮจิมินห์ เพื่อเป็นเกียรติแก่โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ เป็นบุคคลที่ชาวเวียดนามถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการประกาศอิสรภาพของเวียดนาม.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและโฮจิมินห์

โคชินไชนา

อาณานิคมโคชินไชนา หรือ อาณานิคมโคชินจีน (Cochinchina; Nam Kỳ, Kampuchea Krom) เป็นบริเวณที่อยู่ทางใต้ของเวียดนามซึ่งมีเมืองสำคัญคือไซ่ง่อนหรือไพรนครในภาษาเขมร ดินแดนนี้เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสตั้งแต..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและโคชินไชนา

โคลวิสที่ 1

ลวิสที่ 1 (Clovis I) (ราว ค.ศ. 466 – ค.ศ. 511) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชนแฟรงค์พระองค์แรกที่รวมชนแฟรงค์กลุ่มต่างๆ เข้าด้วยกันภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียว และทรงเป็นผู้นำในการนับถือคริสต์ศาสนา โคลวิสเป็นพระราชโอรสของชิลเดอริคที่ 1 (Childeric I) และ บาสินาพระราชินีแห่งเทอริงเกีย เมื่อมีพระชนมายุได้ 16 พรรษาพระองค์ก็ขึ้นเป็นประมุขของซาเลียนแฟรงค์ (Salian Franks) บางส่วนต่อจากพระราชบิดาในปี..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและโคลวิสที่ 1

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและไตรภาคี

เกาะเอลบา

ที่ตั้งของเกาะ เกาะเอลบา (isola d'Elba; Ilva) เป็นเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในแคว้นทัสกานี ประเทศอิตาลี ห่างจากเมืองชายฝั่งปิออมบิโนไปทางตะวันตก 20 กิโลเมตร มันเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะทัสกัน เอลเบยังเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะทัสกัน และเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามในอิตาลี รองจากซิซิลีและซาร์ดิเนีย ตั้งอยู่ระหว่างทะเลไทเรเนียนและทะเลลิกูเรียน ห่างจากเกาะคอร์ซิกาของฝรั่งเศสไปทางตะวันออกราว 50 กิโลเมตร เกาะเอลบาเคยเป็นสถานที่คุมตัวของจักรพรรดินโปเลียนภายหลังฝรั่งเศสพ่ายแพ้ในสงครามประสานมิตรครั้งที่หก หมวดหมู่:เกาะในประเทศอิตาลี.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเกาะเอลบา

เลโอนาร์โด ดา วินชี

ลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเลโอนาร์โด ดา วินชี

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน

เดียนเบียนฟู

ียนเบียนฟู (Dien Bien Phu) หรือ เดี่ยนเบียนฝู (Điện Biên Phủ) (ชื่อเดิม: แถง) เป็นเมืองหนึ่งในจังหวัดเดี่ยนเบียนซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 200 กิโลเมตร มีชื่อเสียงเนื่องจากเป็นที่รบยุทธการที่เดียนเบียนฟูระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดมินห์ เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเดียนเบียนฟู

เซนต์เฮเลนา

ซนต์เฮเลนา เป็นเกาะภูเขาไฟและอยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะใกล้เคียงก็อยู่ในเครือจักรภพเช่นกัน ทั้งเกาะแอสเซนซันและตริสตัน ดา กุนญา เซนต์เฮเลนาเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่จักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ตแห่งฝรั่งเศส ถูกเนรเทศไปที่เกาะนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเซนต์เฮเลนา

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเนโท

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสและเนเปิลส์

พ.ศ. 1978พ.ศ. 1996พ.ศ. 2037พ.ศ. 2042พ.ศ. 2043พ.ศ. 2103พ.ศ. 2105พ.ศ. 2118พ.ศ. 2127พ.ศ. 2131พ.ศ. 2136พ.ศ. 2141พ.ศ. 2153พ.ศ. 2167พ.ศ. 2186พ.ศ. 2190พ.ศ. 2191พ.ศ. 2202พ.ศ. 2203พ.ศ. 2204พ.ศ. 2208พ.ศ. 2211พ.ศ. 2215พ.ศ. 2221พ.ศ. 2225พ.ศ. 2228พ.ศ. 2229พ.ศ. 2231พ.ศ. 2243พ.ศ. 2248พ.ศ. 2252พ.ศ. 2255พ.ศ. 2256พ.ศ. 2257พ.ศ. 2258พ.ศ. 2278พ.ศ. 2306พ.ศ. 2309พ.ศ. 2317พ.ศ. 2319พ.ศ. 2326พ.ศ. 2330พ.ศ. 2332พ.ศ. 2334พ.ศ. 2335พ.ศ. 2336พ.ศ. 2337พ.ศ. 2338พ.ศ. 2340พ.ศ. 2342พ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2347พ.ศ. 2348พ.ศ. 2352พ.ศ. 2355พ.ศ. 2356พ.ศ. 2357พ.ศ. 2358พ.ศ. 2361พ.ศ. 2364พ.ศ. 2367พ.ศ. 2368พ.ศ. 2372พ.ศ. 2373พ.ศ. 2374พ.ศ. 2375พ.ศ. 2383พ.ศ. 2390พ.ศ. 2391พ.ศ. 2395พ.ศ. 2413พ.ศ. 2483พ.ศ. 2489พ.ศ. 2501พ.ศ. 2512พ.ศ. 2524พ.ศ. 2538พ.ศ. 2550พ.ศ. 2555พ.ศ. 803พ.ศ. 817พ.ศ. 949พ.ศ. 994พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระราชกฤษฎีกานองซ์พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอูก กาแปพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพวกคลั่งเจ้ากฎหมายแซลิกกลุ่มชนเจอร์แมนิกกอลกองทัพใหญ่กัสกอญการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงการรวมชาติเยอรมันการรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวการทลายคุกบัสตีย์การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์การปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอุตสาหกรรมการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาการให้เอกราชกาฬโรคกิโยตีนฝรั่งเศสเขตวีชีฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งฝ่ายอักษะภาษาฝรั่งเศสภาษาละตินมหาวิทยาลัยปารีสมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มามารี อ็องตัวแน็ตมาดริดมิลานมณฑลของโรมันมงแต็สกีเยอยุทธการที่วอเตอร์ลูยุทธการที่ไลพ์ซิชยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ยุคเรืองปัญญายุคเหล็กระบอบเก่ารัฐบาวาเรียรัฐลุยเซียนารัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์การอแล็งเฌียงราชวงศ์กาเปเซียงราชวงศ์วาลัวราชวงศ์แพลนแทเจเนตราชวงศ์เมรอแว็งเฌียงราชวงศ์เหงียนราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชอาณาจักรเนเปิลส์ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคมลอมบาร์ดลอนดอนลักเซมเบิร์กลุดวิจชาวเยอรมันวอลแตร์วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็งศาสนาคริสต์สมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยร้อยวันสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3สหภาพยุโรปสหรัฐสหประชาชาติสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สาธารณรัฐโรมันสุลต่าน ตวนกู สุลัยมาน ชาห์สทราซบูร์สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามฝิ่นสงครามร้อยปีสงครามสามสิบปีสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรียสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์สงครามครูเสดสงครามครูเสดครั้งที่ 2สงครามคาบสมุทรสงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามนโปเลียนสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามไครเมียสงครามเก้าปีสงครามเจ็ดปีออทโท ฟอน บิสมาร์คอัศวินเทมพลาร์อัตติลาอาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยออาณาจักรแฟรงก์ตะวันตกอาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศสอูเกอโนต์อนารยชนฌอร์ฌ ปงปีดูฌัก ชีรักฌากอแบ็งฌ็อง-ฌัก รูโซจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดินโปเลียนที่ 3จักรพรรดิโลทาร์ที่ 1จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิการอแล็งเฌียงจักรวรรดิฝรั่งเศสที่สองจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสจักรวรรดินิยมจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิเยอรมันจูเลียส ซีซาร์ธงชาติฝรั่งเศสทวีปเอเชียทะเลเมดิเตอร์เรเนียนดัชชีบราบันต์คอร์ซิกาคาบสมุทรอิตาลีคาร์เธจคำปฏิญาณสนามเทนนิสตระกูลกาแปตูลูซซาวอยประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองประเทศฝรั่งเศสประเทศสกอตแลนด์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสวีเดนประเทศอิตาลีประเทศอียิปต์ประเทศแอลจีเรียประเทศแคนาดาประเทศเยอรมนีประเทศเวียดนามประเทศเนเธอร์แลนด์ปรัสเซียปืนนอร์ม็องดีนาซีเยอรมนีนิสนีกอลา ซาร์กอซีนีแอนเดอร์ทาลนครโฮจิมินห์แกลเลียนาร์โบเนนซิสแกลเลียแอควิเทเนียแกลเลียเบลจิกาแม่น้ำไรน์แร็งส์แคว้นลอมบาร์เดียแคว้นอาลซัสแคทเธอรีน เดอ เมดีชีโฮจิมินห์โคชินไชนาโคลวิสที่ 1ไตรภาคีเกาะเอลบาเลโอนาร์โด ดา วินชีเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเดียนเบียนฟูเซนต์เฮเลนาเนโทเนเปิลส์