โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์

ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013) vs. เดอะไทมส์

ซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน กุนซือผู้ยิ่งใหญ่ผู้คุมทีมระหว่างปี 2529-2556 ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (2529-2556) เริ่มต้นขึ้นเมื่อยูไนเต็ดในฤดูกาล 2529-30 ภายใต้การคุมทีมของ รอน แอตกินสัน ทำผลงานได้อย่างย่ำแย่จนอันดับของทีมตกลงมาอยู่ที่ 4 จากท้ายตารางทำให้ในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2529 มาร์ติน เอดเวิร์ดส ประธานสโมสรในขณะนั้นจึงทำการปลดแอตกินสันออกจากตำแหน่งและแต่งตั้ง อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ชาวสกอตวัย 46 ปีเข้ามาคุมทีมแทนในอีก 2 วันต่อมา เฟอร์กูสันซึ่งย้ายมาจากสโมสร อเบอร์ดีน เข้ามาคุมทีมยูไนเต็ดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2529 โดยเกมนัดแรกของเฟอร์กูสันคือเกมที่ยูไนเต็ดออกไปแพ้ ออกซ์ฟอร์ด ยูไนเต็ด 0-2 ในศึก ดิวิชั่น 1 (เดิม) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2529 และชัยชนะเกมแรกของยูไนเต็ดในยุคของเฟอร์กูสันเกิดขึ้นในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2529 ในนัดที่ยูไนเต็ดเปิด โอลด์แทรฟฟอร์ด เอาชนะทีมทหารเสือราชินี ควีนส์ปาร์ค เรนเจอร์ส ไป 2-0 และยูไนเต็ดก็สามารถเอาชนะยอดทีมของอังกฤษในยุคนั้นอย่าง ลิเวอร์พูล ไปได้ 1-0 ในศึกแดงเดือดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2529 อันตรงกับวัน บอกซิ่งเดย์ หรือวันแกะกล่องของขวัญหลัง วันคริสต์มาส โดยเมื่อจบฤดูกาลนั้นยูไนเต็ดสามารถขยับขึ้นมาจบในอันดับที่ 11 ของตารางทั้ง ๆ ที่ในฤดูกาลนั้นเฟอร์กูสันไม่ได้ซื้อนักเตะเข้ามาแม้แต่รายเดียว ฤดูกาล 2530-31 เฟอร์กูสันเริ่มเสริมนักเตะเข้าสู่ทีมโดยนักเตะคู่แรกของยูไนเต็ดในยุคของเฟอร์กูสันคือ วิฟ แอนเดอร์สัน ปราการหลังผิวสีร่างยักษ์จาก นอตติงแฮม ฟอเรสต์ และ ไบรอัน แมคแคลร์ กองหน้าดาวรุ่งจาก กลาสโกว์ เซลติก เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2530 และตามมาด้วย สตีฟ บรูซ ปราการหลังจอมแกร่งจาก นอริช ซิตี้ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2530 ซึ่งก่อนหน้านั้นเฟอร์กูสันได้ติดต่อขอซื้อ สจ๊วร์ต เพียร์ซ จากนอตติงแฮม ฟอเรสต์และ ปีเตอร์ เบียร์ดสลีย์ จาก นิวคาสเซิลยูไนเต็ด แต่ทั้งสองก็ได้ปฏิเสธไปจากนั้นยูไนเต็ดก็ได้ซื้อตัว มาร์ค ฮิวจ์ส กองหน้าตัวเก่งของทีมที่ได้ย้ายไปร่วมทีม บาร์เซโลนา เมื่อปี 2528 กลับมาด้วยค่าตัว £ 1.8 ล้านปอนด์พร้อมกันนี้ยังได้ตัว จิม เลห์ตัน ผู้รักษาประตูจากอเบอร์ดีนทีมเก่าของเฟอร์กูสันเข้ามาแทนที่ แกรี เบลีย์ ที่ออกจากทีมไปและปีกดาวรุ่งวัย 17 ปีจาก ทอร์คีย์ ยูไนเต็ด อย่าง ลี ชาร์ป และยูไนเต็ดทำสถิติในการซื้อตัวที่แพงที่สุดในยุคนั้นของสโมสรบนเกาะอังกฤษเมื่อขอซื้อ พอล แกสคอยน์ จาก ทอตแนมฮอทสเปอร์ส ด้วยค่าตัว £ 2 ล้านปอนด์แต่ได้รับการปฏิเสธโดยเมื่อจบฤดูกาลนั้นยูไนเต็ดก็จบด้วยตำแหน่งรองแชมป์เป็นรองแค่ ลิเวอร์พูล แต่ในฤดูกาล 2531-32 ยูไนเต็ดกลับจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 11 ของตารางเนื่องจากอาการบาดเจ็บของนักเตะตัวหลักทำให้เฟอร์กูสันต้องดึงชาร์ปขึ้นมาจากทีมเยาวชน ในฤดูกาล 2532-33 เฟอร์กูสันได้ทำการซื้อตัวนักเตะเข้ามาหลายคนอาทิ นีล เวบบ์, ไมค์ ฟีแลน,รวมถึง แกรี พัลลิสเตอร์ ปราการหลังจาก มิดเดิลสโบรช์ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2532 เป็นสถิติของสโมสรในยุคนั้นด้วยจำนวนเงิน £ 2.3 ล้านปอนด์ แดนนี วอลเลซ และมิดฟิลด์พันธุ์ดุอย่าง พอล อินซ์ จาก เวสต์แฮม ยูไนเต็ด ซึ่งการมายูไนเต็ดของอินซ์ทำให้แฟนบอลของขุนค้อนไม่พอใจอย่างมากอยู่ช่วงหนึ่งรวมถึงได้ทำการปล่อยนักเตะสำคัญในยุคของแอตกินสันอย่าง พอล แมคกรัธ และ นอร์มัน ไวต์ไซด์ ออกจากทีม ในเดือนกันยายน 2532 นักธุรกิจชาวอังกฤษ ไมเคิล ไนท์ตัน ได้ขอเทคโอเวอร์สโมสรด้วยจำนวนเงิน £ 20 ล้านปอนด์พร้อมกับข่าวลือที่ว่าเฟอร์กูสันจะถูกยูไนเต็ดสั่งปลดแต่ด้วยเหตุผลบางประการทำให้การเทคโอเวอร์ครั้งนี้ล้มเหลวพร้อมกับที่เฟอร์กูสันสามารถพาทีมคว้าแชมป์ เอฟเอคัพ ได้เป็นครั้งแรกในรอบหลายปีด้วยการเอาชนะ คริสตัลพาเลซ ไปได้ 1-0 ในนัดรีเพลย์จากฝีเท้าของ ลี มาร์ติน ทั้ง ๆ ที่เมื่อจบฤดูกาลยูไนเต็ดกลับจบในอันดับที่ 13 ซึ่งนับเป็นอันดับที่แย่ที่สุดของทีมนับแต่กลับขึ้นสู่ลีกสูงสุดเมื่อฤดูกาล 2518-19 โดยมีแต้มห่างจากโซนตกชั้นเพียง 5 แต้มซึ่งการคว้าแชมป์เอฟเอคัพครั้งนี้ทำให้ยูไนเต็ดได้ไปเล่น ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ ในฤดูกาล 2533-34 ยูไนเต็ดได้ทำการเสริมตัวนักเตะเข้ามาอาทิ เดนนิส เออร์วิน แบ็กซ้ายจอมขยันจาก โอลด์แฮม แอทเลติก รวมถึงการดึงปีกดาวรุ่งชาวเวลส์วัย 17 ปีอย่าง ไรอัน วิลสัน หรือต่อมาคือ ไรอัน กิ๊กส์ จากทีมเยาวชนขึ้นสู่ทีมชุดใหญ่โดยได้ประเดิมสนามนัดแรกในนามทีมชุดใหญ่ในนัดที่ยูไนเต็ดเปิดโอลด์แทรฟฟอร์ดเจอกับ เอฟเวอร์ตัน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2533 โดยเมื่อจบฤดูกาลยูไนเต็ดสามารถจบในอันดับที่ 6 แต่บอลถ้วยในประเทศกลับล้มเหลวทั้งหมดโดยเอฟเอคัพยูไนเต็ดในฐานะแชมป์เก่าต้องตกรอบไปในรอบ 5 ด้วยน้ำมือของ นอริช ซิตี้ 2-1 ส่วน ลีกคัพ สามารถเข้ารอบชิงแต่ไปแพ้ เชฟฟิลดิ์ เว้นสเดย์ 1-0 ส่วนคัพวินเนอร์สคัพยูไนเต็ดสามารถเข้าถึงรอบชิงโดยไปพบกับ บาร์เซโลนา ภายใต้การคุมทีมของ โยฮัน ไกรฟฟ์ เจ้าของฉายา นักเตะเทวดา โดยการแข่งขันนัดนี้ไปแข่งที่สนาม เด คุป สนามเหย้าของ เฟเยนูร์ด ร็อตเธอร์ดัม ผลปรากฏว่ายูไนเต็ดสามารถเอาชนะไปได้ 2-1 จากการทำประตูของ มาร์ค ฮิวจ์ส ทั้ง 2 ลูกซึ่งนับเป็นสโมสรแรกจากอังกฤษที่สามารถคว้าแชมป์บอลสโมสรยุโรปในรอบ 5 ปีนับแต่เหตุการณ์ โศกนาฏกรรมเฮย์เซล เมื่อปี 2528 และแชมป์บอลสโมสรยุโรปของสโมสรครั้งแรกในรอบ 23 ปีนับแต่แชมป์ ยูโรเปี้ยน คัพ เมื่อปี 2511 ซึ่งก่อนจะเริ่มฤดูกาลใหม่เฟอร์กูสันได้ทำการขายนักเตะคนแรกที่เขาซื้อเข้ามาอย่าง วิฟ แอนเดอร์สัน ไปให้กับ เชฟฟิลดิ์ เว้นสเดย์ ในฤดูกาล 2534-35 ยูไนเต็ดได้ทำการดึงตัว ปีเตอร์ ชไมเคิล จาก บรอนด์บี เข้ามาเป็นมือ 1 แทน จิม เลห์ตัน ที่ตกเป็นมือ 2 พอล ปาร์คเกอร์ จาก ควีนส์ปาร์ค เรนเจอร์ส รวมถึงในฤดูกาลนี้ ไรอัน กิ๊กส์ ได้ก้าวขึ้นมายึดตำแหน่งตัวจริงจาก ลี ชาร์ป และกลายมาเป็นกำลังสำคัญของเฟอร์กูสันจนกระทั่งแขวนสตั๊ดทำให้ได้รับฉายาจากแฟนบอลและนักข่าวว่า ปีกพ่อมด โดยในฤดูกาลนี้ยูไนเต็ดสามารถจบในอันดับ 2 โดยแชมป์ในฤดูกาลนั้นซึ่งถือเป็นแชมป์ดิวิชั่น 1 ทีมสุดท้ายก่อนจะเปลี่ยนเป็น พรีเมียร์ลีก คือ ลีดส์ ยูไนเต็ด ภายใต้การคุมทีมของ โฮเวิร์ด วิลกินสัน ซึ่งนำทีมโดย เอริค คันโตนา ฤดูกาล 2535-36 ซึ่งถือเป็นฤดูกาลแรกของ พรีเมียร์ลีก ยูไนเต็ดได้ทำการกระชากตัว เอริค คันโตนา มาจาก ลีดส์ ยูไนเต็ด ตามคำแนะนำของ สตีฟ บรูซ กัปตันทีมของยูไนเต็ดในขณะนั้นเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน.. อห์น วอลเทอร์ ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการคนแรก เดอะไทมส์ (The Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1785 เดิมใช้ชื่อว่า The Daily Universal Register ก่อตั้งโดยจอห์น วอลเทอร์ ตีพิมพ์ฉบับแรกวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1785 และเปลี่ยนชื่อเป็น The Times ตั้งแต่ฉบับที่ 941 วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1788 ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์

ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์

ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013) มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดอะไทมส์ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (40 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประวัติศาสตร์ของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (ค.ศ. 1986–2013)และเดอะไทมส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »