โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ vs. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ

ตำแหน่ง "ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา" ทำหน้าที่เป็นประธานแห่งผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาตั้งขึ้นในปี. รัฐมนตรีความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บังคับบัญชาและหัวหน้ากระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่ปกป้องดูแลพลเมืองชาวอเมริกันและประเทศชาติ รัฐมนตรีฯถือเป็นสมาชิกในคณะรัฐมนตรีสหรัฐ ตามรัฐบัญญัติว่าด้วยความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ หลังจากเกิดเหตุการณ์ วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รองประธานาธิบดีสหรัฐรัฐสภาสหรัฐลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐวอชิงตัน ดี.ซี.ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐ

รองประธานาธิบดีสหรัฐ

รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (Vice President of the United States; ย่อ: VPOTUS) เป็นบุคคลแรกภายใต้โครงสร้างการบริหารของประธานาธิบดีสหรัฐ และจะได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีเมื่อประธานาธิบดีคนปัจจุบันถึงแก่อสัญกรรม ลาออกหรือถูกถอดถอนจากตำแหน่ง ตามรัฐธรรมนูญสหรัฐนั้น รองประธานาธิบดียังได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานวุฒิสภาอีกด้วย แต่จะไม่มีอำนาจในการลงมติ เว้นแต่เพื่อการชี้ขาดในกรณีคะแนนเสียงเท่ากัน รองประธานาธิบดีคนปัจจุบันของสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ คือนาย ไมก์ เพนซ์ ดูบทความเพิ่มเติมได้ที่ รายนามรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ ส หมวดหมู่:รองประธานาธิบดีสหรัฐ หมวดหมู่:คณะรัฐมนตรีสหรัฐ.

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรองประธานาธิบดีสหรัฐ · รองประธานาธิบดีสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐสภาสหรัฐ · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐและรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ

ลินดอน บี. จอห์นสัน สาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐบนแอร์ฟอร์ซวัน หลังการลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี ในปี 1963 ลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (United States presidential line of succession) เป็นลำดับข้าราชการในรัฐบาลกลางที่จะเป็นหรือรักษาการแทนประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เมื่อประธานาธิบดีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ตาย ลาออก หรือถูกถอดจากตำแหน่งหน้าที่เมื่อมีการฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งและมีการพิพากษาลงโทษในภายหลัง ลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีนี้มีระบุไว้ในรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา และรัฐบัญญัติการสืบทอดประธานาธิบดี ค.ศ. 1947 (Presidential Succession Act of 1947) ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลังเพื่อให้รวมตำแหน่งใหม่ในคณะรัฐมนตรีเข้าไว้ด้วย การสืบทอดนั้นเป็นไปตามลำดับดังนี้ คือ รองประธานาธิบดี, ประธานสภาผู้แทนราษฎร, ประธานวุฒิสภาชั่วคราว, และสมาชิกคณะรัฐมนตรีซึ่งปัจจุบันมี 15 คน.

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐและลำดับการสืบทอดตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและวอชิงตัน ดี.ซี. · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐ

ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา (หรือ ประธานวุฒิสภาชั่วคราว) เป็นผู้ทรงอำนาจเป็นลำดับที่สองของวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา มาตรา 1 วรรค 3 แห่งรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา ได้บัญญัติไว้ว่า รองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ซึ่งแม้ว่าจะไม่ใช่วุฒิสมาชิกสหรัฐฯ แต่ในฐานะประธานวุฒิสภาต้องมอบอำนาจให้วุฒิสภาเลือกประธานชั่วคราวเพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนในกรณีรองประธานาธิบดีไม่ได้เข้ามาทำหน้าที่ บทบาทของประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐอเมริกานั้น แตกต่างจาก รองประธานาธิบดีที่ปฏิบัติหน้าที่ประธานวุฒิสภา คือ ได้รับการลงคะแนนเสียงจากวุฒิสมาชิกส่วนมาก ทั้งยังสามารถอภิปราย หรือ ลงคะแนนเสียงได้ในทุกๆญัตติ ถึงกระนั้นประธานวุฒิสภาชั่วคราวยังมีเอกสิทธิ์และอำนาจพอสมควร และเมื่อรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาไม่เข้าปฏิบัติหน้าที่ ประธานวุฒิสภาชั่วคราวถือเป็นผู้มีอำนาจเต็มในการประชุม ในทางปฏิบัติ, รองประธานาธิบดีหรือประธานวุฒิสภาชั่วคราวมักจะไม่เป็นประธานในการประชุมเสมอไป แต่อาจหมุนเวียนให้วุฒิสมาชิกระดับไม่อาวุโสของพรรคเสียงข้างมากได้เข้ามาทำหน้าที่บ้างเพื่อสร้างประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ตั้งแต่คริสตศักราช 1890, วุฒิสมาชิกระดับอาวุโสของพรรคเสียงข้างมากในวุฒิสภาสหรัฐ มักถูกรับเลือกให้เป็นประธานชั่วคราววุฒิสภาสหรัฐจนกระทั่งหมดวาระและมีการเลือกตั้งใหม่ โดยปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปีคริสตศักราช 1949 ตั้งแต่การตรารัฐบัญญัติลำดับการสืบทอดในการดำรงประธานาธิบดี 1947 ประธานชั่วคราววุฒิสภา มีศักดิ์ในลำดับที่ 3 ของการสืบทอดตำแหน่งคือ หลังจาก 1) รองประธานาธิบดี 2.)ประธานสภาผู้แทนราษฎร และ ก่อนหน้า 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ ซึ่งจะเป็นไปตามอัตฺโนมัติเฉพาะการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเท่านั้น ส่วนตำแหน่งรองประธานาธิบดีจะว่างเว้นไว้ จนกระทั่งมีการแต่งตั้งใหม่ ตามรัฐธรรมนูญสหรัฐมาตรา 25 ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน คือ ออรินท์ แฮชท์ วุฒิสมาชิกพรรครีพับลิกัน จากรัฐยูทาห์ ได้รับเลือกให้เข้าดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2558 เป็น ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา คนที่ 90 เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2561 แฮชท์ประกาศเกษียณตนล่วงหน้า มีผลวันที่ 3 มกราคม 2562 หมวดหมู่:รัฐสภาสหรัฐ หมวดหมู่:การเมืองสหรัฐ หมวดหมู่:ประธานวุฒิสภาสหรัฐ หมวดหมู่:วุฒิสภาสหรัฐ.

ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐและประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ · ประธานชั่วคราวแห่งวุฒิสภาสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 19.23% = 5 / (7 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิสหรัฐ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »