เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร

ประติมานวิทยา vs. วัดอภัยคีรีวิหาร

ประติมานวิทยา (Iconography) เป็นสาขาหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลป์ที่เป็นการศึกษาประวัติ, คำบรรยาย และ การตีความหมายของเนื้อหาของภาพ คำว่า “Iconography” แปลตรงตัวว่า “การเขียนรูปลักษณ์” (image writing) ที่มีรากมาจากภาษากรีกโบราณ “εἰκών” ที่แปลว่า “รูปลักษณ์” และคำว่า “γράφειν” ที่แปลว่า “เขียน” ความหมายรองลงมาคืองานประติมา (Icon) ในไบแซนไทน์และออร์โธด็อกซ์ของประเพณีนิยมคริสเตียน ในด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ประติมานวิทยาก็ยังอาจจะหมายถึงกรรมวิธีการแสดงหัวเรื่องในรูปแบบของการใช้รูปสัญลักษณ์ต่างๆ ในเนื้อหาของภาพที่ออกมาให้ผู้ชมได้เห็น นอกจากนั้นประติมานวิทยาก็ยังใช้ในด้านสาขาวิชาอื่นนอกไปจากประวัติศาสตร์ศิลป์เช่นในวิชาสัญญาณศาสตร์ และ media studies, และในการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงลักษณะรูปลักษณ์ที่ใช้กันเป็นสามัญของหัวเรื่องหรือความหมายในทำนองเดียวกัน. อภัยคีรีเจดีย์ แผนที่โบราณสถานอภัยคีรี วัดอภัยคีรีวิหาร (Abhayagiri) เป็นวัดศาสนาพุทธนิกายเถรวาทในความอุปถัมภ์ของพระเจ้าวัฏฏคามิณีอภัย เป็นวัดที่มีชื่อคู่กันกับวัดมหาวิหารซึ่งมีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ปัจจุบันปรากฏอยู่ภายในกำแพงเมืองเก่านครอนุราธปุระ ประเทศศรีลังกา มีอายุอยู่ในราวสมัยพุทธศตวรรษที่ 4 ซึ่งเป็นยุคสมัยแรกๆที่มีการจารพุทธพจน์ลงในใบลาน วัดอภัยคีรีวิหารมีพระสงฆ์จำนวนมาก มีเจดีย์ปราสาท ศาสนวัตถุ และระบบชลประทานที่ก้าวหน้าภายในสำนัก ซึ่งเหตุการณ์ตามการศึกษาประวัติศาสตร์กล่าวว่า วัดสำนักอภัยคีรีวิหาร และวัดในสำนักมหาวิหาร ได้ชื่อว่าแยกออกจากกันชัดเจนยิ่งขึ้นในสมัยนี้ เพราะการจลาจลในราชสำนักและการให้ความช่วยเหลือต่อพระเจ้าวัฏฏคามิณีอภัยของสำนักสงฆ์อภัยคีรี สำนักอภัยคีรีวิหารเป็นแหล่งต้นตอในการสร้างหนังสือปกรณ์วิเศษ ชื่อ วิมุตติมรรค อันเป็นคัมภีร์หนึ่งที่มีความสำคัญของพุทธศาสนาเถรวาท คณาจารย์ที่ได้รับการยกย่องเชิดชูของสำนักอภัยคีรีวิหาร ชื่อ พระอุปติสสะเถระ ผู้รจนาคัมภีร์วิมุตติมรรคไว้เป็นแบบ และพระสังฆมิตตเถระผู้โต้วาทีมีชัยชนะเหนือคณะสงฆ์สำนักมหาวิหาร และเหตุการณ์ในสมัยนั้นยังปรากฏว่าพระจักรพรรดิจีนได้จัดราชทูตมาทูลขอภิกษุณีสงฆ์สำนักอภัยคีรีวิหารไปเพื่อประดิษฐานพระศาสนาด้วย พระเถรีผู้เป็นหัวหน้าคณะภิกษุณีในครั้งนี้คือพระเทวสาราเถรี พระภิกษุณีสงฆ์ในสายนี้มีการสืบต่อกันเรื่อยมาในชื่อว่านิกายธรรมคุปต์ และได้มีวัดภิกษุณีแห่งแรกในประเทศจีน ที่พระจักรพรรดิถวายนามว่าวัด วินฟุ (Vinfu Monastery).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร

ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร

ประติมานวิทยา มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ วัดอภัยคีรีวิหาร มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประติมานวิทยาและวัดอภัยคีรีวิหาร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: