โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น

ประชาธิปไตย vs. ภาวะข้อมูลท่วมท้น

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR. วะข้อมูลท่วมท้น (information overload) หมายถึง ภาวะที่บุคคลประสบความยุ่งยากในการเข้าใจประเด็นและตัดสินใจ อันเนื่องมาจากมีข้อมูลมากเกินไป ทำนองเดียวกับ "ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด" หรือ "มากหมอมากความ" ศัพท์นี้ได้รับความนิยม เพราะ อัลวิน ทอฟเลอร์ ใช้ในหนังสือขายดีของตน ชื่อ Future Shock (ค.ศ. 1970) และ เบอร์แทรม กรอส ก็ใช้ในหนังสือของตน ชื่อ The Managing of Organizations (ค.ศ. 1964) ศัพท์และแนวคิดดังกล่าวนี้ มีมาก่อนอินเทอร์เน็ต ทอฟเลอร์อธิบายศัพท์นี้ โดยเปรียบเทียบว่า ภาวะข้อมูลท่วมท้นคือการได้รับรู้ความรู้สึกมากเกินไป (sensory overload) ในยุคข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ การรับรู้ความรู้สึกมากเกินไปเป็นศัพท์ที่เริ่มใช้ในทศวรรษ 1950 และถูกมองว่าเป็นสาเหตุของการไม่มีสมาธิและขาดการตอบสนอง ทอฟเลอร์นิยามภาวะข้อมูลท่วมท้นว่ามีผลกระทบลักษณะเดียวกัน แต่เกิดกับการทำงานทางการรับรู้ในระดับที่สูงกว่า เขาเขียนว่า "เมื่อปัจเจกบุคคลตกอยู่ในภาวะที่สถานการณ์เปลี่ยนอย่างรวดเร็วและอย่างผิดปรกติ หรืออยู่ในบริบทที่ไม่เคยพบประสบมาก่อน...บุคคลนั้นจะมีความแม่นยำในการคาดการณ์ลดลง เขาจะไม่สามารถประเมินอย่างถูกต้องได้อีกต่อไปว่าพฤติกรรมที่มีเหตุผลแบบไหนที่เชื่อใจได้".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น

ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น

ประชาธิปไตย มี 173 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะข้อมูลท่วมท้น มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (173 + 1)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชาธิปไตยและภาวะข้อมูลท่วมท้น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »