โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง

ประกายเพชร สรหงส์ vs. เพลงลูกทุ่ง

ประกายเพชร สรหงส์ หรือ สุชาติ สรหงส์ (เกิด 9 มิถุนายน พ.ศ. 2490) นักร้องหนุ่มเลือดสุพรรณบุรี ดินแดนจังหวัดนักร้องลูกทุ่ง ไม่ว่าจะเป็นราชาเพลงลูกทุ่งสุรพล สมบัติเจริญ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ก้านแก้วสุพรรณ ขวัตจิต ศรีประจันต์ สังข์ทอง สีใส นพพร เมืองสุพรรณ เสมา ศรีสุพรรณ พุ่มพวง ดวงจันทร์ และเขาหละ ประกายเพชร สรหงส์ นักร้องระดับคีย์แมนของเมืองสุพรรณ. ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง

ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุรพล สมบัติเจริญไวพจน์ เพชรสุพรรณเพลงลูกทุ่ง

สุรพล สมบัติเจริญ

รพล สมบัติเจริญ หรือ พันจ่าอากาศโทลำดวน สมบัติเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2473 เป็นคนสุพรรณบุรีโดยกำเนิด เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของเพลงดัง "16 ปีแห่งความหลัง".

ประกายเพชร สรหงส์และสุรพล สมบัติเจริญ · สุรพล สมบัติเจริญและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

วพจน์ เพชรสุพรรณ เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชื่อดังระดับตำนานของประเทศไทย และอยู่ในวงการมานานหลายสิบปี โดยสร้างผลงานเพลงออกมามากมายนับไม่ถ้วน จวบจนถึงปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง ในจำนวนนั้นเป็นเพลงดังที่ฮิตติดหูมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความเชี่ยวชาญด้านเพลงพื้นเมืองภาคกลางชนิดหาตัวจับได้ยาก และได้สร้างผลงานเพลงประเภทนี้ออกมามากกว่าศิลปินเพลงพื้นบ้านคนใด ไวพจน์ เพชรสุพรรณยังมีความสามารถด้านการแต่งเพลง และได้แต่งเพลงดังให้กับนักร้องหลายคน ทั้งยังได้ชื่อว่าเป็นผู้สร้างราชินีลูกทุ่งคนที่ 2 คือ พุ่มพวง ดวงจันทร์ ขึ้นมาประดับวงการเพลงเมืองไทยด้วย ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) เมื่อปี พ.ศ. 2540.

ประกายเพชร สรหงส์และไวพจน์ เพชรสุพรรณ · เพลงลูกทุ่งและไวพจน์ เพชรสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง · เพลงลูกทุ่งและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง

ประกายเพชร สรหงส์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพลงลูกทุ่ง มี 203 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.44% = 3 / (6 + 203)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประกายเพชร สรหงส์และเพลงลูกทุ่ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »