เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปมเอดิเพิสและโรคประสาท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปมเอดิเพิสและโรคประสาท

ปมเอดิเพิส vs. โรคประสาท

ัณฑสถานทางศิลปะเมโทรโพลิแทน คำว่า ปมเอดิเพิส (Oedipus complex) อธิบายอารมณ์และความคิดซึ่งจิตเก็บไว้ในจิตไร้สำนึกโดยการกดเก็บพลวัต (dynamic repression) ซึ่งสนใจความปรารถนาของเด็กในการใฝ่ใจเชิงสังวาสกับบิดามารดาเพศตรงข้ามกับตน คือ ชายดึงดูดกับมารดาของตน หญิงดึงดูดกับบิดาของตน) ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ผู้ประดิษฐ์คำว่า "ปมเอดิเพิส" เชื่อว่าปมเอดิเพิสเป็นความปรารถนาบิดามารดาทั้งในชายและหญิง ฟรอยด์คัดค้านคำว่า "ปมอิเล็กตรา" ที่คาร์ล กุสทัฟ ยุงเสนออธิบายปมเอดิเพิสที่ปรากฏในเด็กหญิง ปมเอดิเพิสปรากฏในพัฒนาการความต้องการทางเพศขั้นที่สาม คือ ขั้นอวัยวะเพศ (อายุ 3–6 ปี) จากทั้งหมดห้าขั้น ได้แก่ (1) ขั้นปาก (2) ขั้นทวารหนัก (3) ขั้นอวัยวะเพศ (4) ขั้นแฝง และ (5) ขั้นสนใจเพศตรงข้าม ซึ่งแลห่งงของความพึงพอใจของลิบิโด (libido) อยู่ในอีโรจีเนียสโซน (erogenous zone) ต่าง ๆ ของกายเด็ก ในทฤษฎีจิตวิเคราะห์สำนักฟรอยด์คลาสสิก การเลียนแบบบิดามารดาเพศเดียวกันของเด็ก (identification) เป็นการแก้ปมเอดิเพิสและปมอิเล็กตราที่สำเร็จ เป็นประสบการณ์ทางจิตวิทยาสำคัญซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาบทบาทและอัตลักษณ์ทางเพศผู้ใหญ่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ยังเสนอว่า เด็กชายและเด็กหญิงเผชิญปมนี้ต่างกัน เด็กชายในรูปของความวิตกกังวลการตอน (castration anxiety) เด็กหญิงในรูปของความอิจฉาองคชาต (penis envy) และการแก้ไขปมที่ไม่สำเร็จอาจนำไปสู่โรคประสาท โรคใคร่เด็กและรักร่วมเพศ ชายและหญิงที่ติดอยู่ในขั้นเอดิเพิสและอิเล็กตราในพัฒนาการความต้องการทางเพศนั้นอาจถือว่า "ยึดติดมารดา" และ "ยึดติดบิดา" ในชีวิตผู้ใหญ่ ประสบการณ์นี้อาจนำให้เลือกคู่ครองที่เหมือนบิดาหรือมารดาของตน. รคประสาท (neurosis) เป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่งที่ไม่รุนแรง แสดงอาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้จิตใจแปรปรวน อ่อนไหวง่าย มักมีความรู้สึกไม่สบายใจ วิตกกังวลอยู่เสมอ ไม่สามารถควบคุมความรู้สึกอารมณ์หรือพฤติกรรมให้เหมือนเดิมได้ อาการทางกายภาพแสดงออกได้ หลายรูปแ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปมเอดิเพิสและโรคประสาท

ปมเอดิเพิสและโรคประสาท มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ซิกมุนด์ ฟรอยด์

ซิกมุนด์ ฟรอยด์

ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, IPA:; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1856 — 23 กันยายน ค.ศ. 1939) เป็นประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะบิดาแห่งจิตวิเคราะห์ บิดามารดาของฟรอยด์ยากจน แต่ได้ส่งเสียให้ฟรอยด์ได้รับการศึกษา เขาสนใจกฎหมายเมื่อครั้งเป็นนักเรียน แต่เปลี่ยนไปศึกษาแพทยศาสตร์แทน โดยรับผิดชอบการวิจัยโรคสมองพิการ ภาวะเสียการสื่อความ และจุลประสาทกายวิภาคศาสตร์ เขาเดินหน้าเพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึกและกลไกของการกดเก็บ และตั้งสาขาจิตบำบัดด้วยวาจา โดยตั้งจิตวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการทางคลินิกเพื่อรักษาจิตพยาธิวิทยาผ่านบทสนทนาและระหว่างผู้รับการรักษากับนักจิตวิเคราะห์Ford & Urban 1965, p. 109 แม้จิตวิเคราะห์จะใช้เป็นการปฏิบัติเพื่อการรักษาลดลง แต่ก็ได้บันดาลใจแก่การพัฒนาจิตบำบัดอื่นอีกหลายรูปแบบ ซึ่งบางรูปแบบแตกออกจากแนวคิดและวิธีการดั้งเดิมของฟรอยด์ ฟรอยด์ตั้งสมมุติฐานการมีอยู่ของ libido (พลังงานซึ่งให้กับกระบวนการและโครงสร้างทางจิต) พัฒนาเทคนิคเพื่อการรักษา เช่น การใช้ความสัมพันธ์เสรี (ซึ่งผู้เข้ารับการรักษารายงานความคิดของตนโดยไม่มีการสงวน และต้องไม่พยายามเพ่งความสนใจขณะทำเช่นนั้น) ค้นพบการถ่ายโยงความรู้สึก (กระบวนการที่ผู้รับการรักษาย้ายที่ความรู้สึกของตนจากประสบการณ์ภาพในอดีตของชีวิตไปยังนักจิตวิเคราะห์) และตั้งบทบาทศูนย์กลางของมันในกระบวนการวิเคราะห์ และเสนอว่า ฝันช่วยรักษาการหลับ โดยเป็นเครื่องหมายของความปรารถนาที่สมหวัง ที่หาไม่แล้วจะปลุกผู้ฝัน เขายังเป็นนักเขียนบทความที่มีผลงานมากมาย โดยใช้จิตวิเคราะห์ตีความและวิจารณ์วัฒนธรรม จิตวิเคราะห์ยังทรงอิทธิพลอยู่ในทางจิตเวชศาสตร์ และต่อมนุษยศาสตร์โดยรวม แม้ผู้วิจารณ์บางคนจะมองว่าเป็นวิทยาศาสตร์ลวงโลกและกีดกันทางเพศ การศึกษาเมื่อ..

ซิกมุนด์ ฟรอยด์และปมเอดิเพิส · ซิกมุนด์ ฟรอยด์และโรคประสาท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปมเอดิเพิสและโรคประสาท

ปมเอดิเพิส มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคประสาท มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 1 / (9 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปมเอดิเพิสและโรคประสาท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: