โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด vs. ไซคลอน บี

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด(Aktion Reinhard)เป็นรหัสนามที่มอบให้กับแผนการลับของนาซีเยอรมันที่จะทำการสังหารหมู่ชาวโปแลนด์เชื้อสายยิวส่วนใหญ่ในรัฐบาลสามัญเยอรมันในเขตการยึดครองโปแลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการครั้งนี้เป็นช่วงที่เลวร้ายที่สุดของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี(Holocaust)และเป็นการแนะนำของค่ายมรณ. ป้ายฉลากของไซคลอน บีจาก ค่ายกักกันดาเคา ถูกใช้เป็นหลักฐานในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก. แผงแรกและที่สามได้มีข้อมูลเกี่ยวกับชื่อผู้ผลิตและชื่อแบรนด์ ส่วนแผนกลาง อ่านว่า "แก๊สพิษ" การเตรียมไซยาไนด์เพื่อเปิดและถูกใช้งานโดยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมเท่านั้น. ไซคลอน บี(Zyklon B)(anglicized หรือแปลว่า ไซโคลน บี)เป็นชื่อทางการค้าของยาฆ่าแมลงที่มีไซยาไนด์เป็นส่วนประกอบ มีการคิดค้นขึ้นในประเทศเยอรมนีในช่วงต้นทศวรรษที่ 1920.มันประกอบด้วยกรดไฮโดรเจนไซยาไนด์(กรดพลัสสิค) รวมทั้งสารระคายเคืองดวงตาและสารดูดซับตัวอื่นๆ เช่น ดิน.ผลิตภัณฑ์นี้เป็นที่น่าอัปยศอดสูสำหรับการถูกใช้งานโดยนาซีเยอรมนีระหว่างการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซีเพื่อการสังหารผู้คนประมาณหนึ่งล้านคนในห้องรมก๊าซที่ถูกติดตั้งในค่ายเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา, ค่ายไมดาเนก,และค่ายมรณะอื่นๆ ไฮโดรเจนไซยาไนด์, เป็นก๊าษพิษที่จะเข้าไปรบกวนการหายใจระดับเซลล์,เป็นครั้งแรกที่ถูกนำมาใช้เป็นยาฆ่าแมลงในรัฐแคลิฟอร์เนียในยุค 1880.การวิจัยที่ Degesch ในเยอรมนีนำไปสู่การพัฒนาของไซคลอน(ต่อมาที่เป็นรู้จักคือไซคลอน เอ),สารกำจัดศัตรูพืชที่จะปลดปล่อยไฮโดรเจนไซยาไนด์ออกมาเมื่อสัมผัสกับน้ำและความร้อน.มันเป็นสิ่งต้องห้ามหลังจากผลิตภัณฑ์ที่มีคล้ายคลึงกันที่ถูกใช้โดยเยอรมันด้วยอาวุธเคมีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ในปี 1922 Degesch ถูกซื้อโดย Degussa, ซึ่งทีมนักเคมีรวมทั้ง Walter Heerdt (de) และ Bruno Tesch ได้พัฒนาวิธีการบรรจุภัณฑ์ไฮโดรเจนไซยาไนด์ในภาชนะที่ปิดสนิทพร้อมกับสารระคายเคืองตาและสารดูดซับสารคงตัว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชุทซ์ชทัฟเฟิลฮอโลคอสต์ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ค่ายมรณะ

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ชุทซ์ชทัฟเฟิลและปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด · ชุทซ์ชทัฟเฟิลและไซคลอน บี · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและฮอโลคอสต์ · ฮอโลคอสต์และไซคลอน บี · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันเอาชวิทซ์

ทางเข้าค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ หรือ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา (Auschwitz concentration camp หรือ Auschwitz-Birkenau) เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาค่ายกักกันของนาซีของนาซีเยอรมนีที่ทำการระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ชื่อของค่ายกักกันมาจากชื่อของเมือง "ออชเฟียนชิม" (Oświęcim) หลังจากการบุกครองโปแลนด์ ในเดือนกันยายน..

ค่ายกักกันเอาชวิทซ์และปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด · ค่ายกักกันเอาชวิทซ์และไซคลอน บี · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายมรณะ

มรณะ (Extermination camp หรือ Death camp) สร้างโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเป็นสถานที่สำหรับสังหารผู้คนเป็นจำนวนล้าน (โดยเฉพาะชาวยิว) อย่างมีระบบ การพันธุฆาตชาวยิวเป็น “วิธีแก้ปัญหาสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” (Die Endlösung der Judenfrage) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความพยายามของนาซีในการกำจัดชาวยิวทั้งหมดมาเรียกรวมกันว่า “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” หรือ “The Holocaust”.

ค่ายมรณะและปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด · ค่ายมรณะและไซคลอน บี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี

ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไซคลอน บี มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 16.67% = 4 / (12 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปฏิบัติการไรน์ฮาร์ดและไซคลอน บี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »