โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ

ปฏิบัติการเท็งโง vs. เรือประจัญบานยะมะโตะ

ปฏิบัติการเท็งโง เป็นปฏิบัติการทางทะเลหลักครั้งสุดท้ายของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามแปซิฟิกของสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการเท็งโงยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า Operation Heaven One (ปฏิบัติการสรวงสวรรค์) และ Ten-ichi-gō (เท็งอิชิโง) ในเดือนเมษายน.. รือประจัญบานยะมะโตะ เป็นเรือประจัญบานขนาดยักษ์ ตั้งตามชื่อ "ยะมะโตะ" ซึ่งเป็นจังหวัดโบราณในประเทศญี่ปุ่น เป็นเรือประจัญบานชั้นยะมะโตะลำแรกของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น เรือประจัญบานยะมะโตะและเรือประจัญบานมูซาชิที่อยู่ในชั้นเดียวกัน เป็นเรือประจัญบานขนาดใหญ่ที่สุดและมีอาวุธทรงประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่ญี่ปุ่นสามารถสร้างได้ ด้วยระวางขับน้ำ 72,800 ตันและปืนใหญ่ขนาดปากลำกล้อง 460 มิลลิเมตร (18 นิ้ว) ทั้งคู่จมลงในระหว่างสงคราม เรือรบลำนี้มีความหมายอันยิ่งใหญ่สำหรับจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสัญลักษณ์ด้านนาวิกานุภาพของชาติ (คำว่า "ยะมะโตะ บางครั้งก็หมายถึงประเทศญี่ปุ่น) และถูกเรือบรรทุกเครื่องบินอเมริกันจมช่วงปลายของสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปฏิบัติการฆ่าตัวตายเท็งโง ซึ่งการจมของเรือรบยะมะโตะ บางครั้งถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ

ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นกองเรือผสมยุทธการที่โอกินาวะสงครามโลกครั้งที่สองจักรวรรดิญี่ปุ่นตอร์ปิโดปฏิบัติการดาวน์ฟอลประเทศญี่ปุ่นแอนแนโพลิสเกาะคีวชูเรือพิฆาตเรือประจัญบานเครื่องบินทะเล

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJN) (คีวจิไต: 大日本帝國海軍 ชินจิไต: 大日本帝国海軍 หรือ 日本海軍 นิปปง ไคงุง) เป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นและปฏิบัติการเท็งโง · กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

กองเรือผสม

กองเรือผสม เป็นส่วนมหาสมุทรของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น คล้ายกันกับกองเรือทะเลลึกของเยอรมัน ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง กองเรือผสมไม่ใช่กองกำลังประจำการ แต่เป็นกองกำลังชั่วคราวที่ตั้งขึ้นระหว่างการรบหรือการซ้อมรบครั้งใหญ่ของกองทัพเรือ จากหน่วยงานที่หลากหลายซึ่งปกติขึ้นตรงต่อสายการบังคัญบัญชาที่ต่างกันในยามสง.

กองเรือผสมและปฏิบัติการเท็งโง · กองเรือผสมและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โอกินาวะ

ทธการโอกินาวะ หรือชื่อรหัส ปฏิบัติการภูเขาน้ำแข็ง (Operation Iceberg) เป็นการสู้รบบนหมู่เกาะรีวกีวของโอกินาวะและเป็นสงครามสะเทินน้ำสะเทินบกขนาดใหญ่ที่สุดในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก การรบกินเวลาถึง 82 วันจากต้นเดือนเมษายนถึงกลางเดือนมิถุนายน..

ปฏิบัติการเท็งโงและยุทธการที่โอกินาวะ · ยุทธการที่โอกินาวะและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ปฏิบัติการเท็งโงและสงครามโลกครั้งที่สอง · สงครามโลกครั้งที่สองและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

จักรวรรดิญี่ปุ่นและปฏิบัติการเท็งโง · จักรวรรดิญี่ปุ่นและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ตอร์ปิโด

ตอร์ปิโดของเยอรมัน ค.ศ. 1900 ตอร์ปิโด (torpedo) (หรือในอดีตเรียกว่า automotive, automobile, locomotive, หรือ fish torpedo; ภาษาพูดเรียก "fish") คืออาวุธยิงบรรจุระเบิดที่ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ปล่อยเหนือหรือใต้ผิวน้ำ และขับเคลื่อนใต้น้ำเข้าหาเป้าหมาย ออกแบบให้ระเบิดเมื่อสัมผัสหรือเข้าใกล้เป้าหมาย เดิมคำว่าตอร์ปิโดใช้เรียกอุปกรณ์ที่หลากหลายแต่ส่วนมากใช้เรียกสิ่งที่ปัจจุบันเรียกว่าทุ่นระเบิด จากประมาณปี..

ตอร์ปิโดและปฏิบัติการเท็งโง · ตอร์ปิโดและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล เป็นแผนการโดยรวมของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อบุกญี่ปุ่นในช่วงใกล้จะสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการถูกยกเลิกเมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนนหลังจากโดนทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโระชิมะและนะงะซะกิ และสหภาพโซเวียตประกาศร่วมสงครามต่อต้านญี่ปุ่น ปฏิบัติการดาวน์ฟอลแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ: ปฏิบัติการโอลิมปิก (Operation Olympic) และ ปฏิบัติการโคโรเนต (Operation Coronet) ปฏิบัติการจะเริ่มต้นในเดือนตุลาคม..

ปฏิบัติการดาวน์ฟอลและปฏิบัติการเท็งโง · ปฏิบัติการดาวน์ฟอลและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ปฏิบัติการเท็งโงและประเทศญี่ปุ่น · ประเทศญี่ปุ่นและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

แอนแนโพลิส

แอนแนโพลิส (Annapolis) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมริแลนด์ มีประชากรราว 36,524 คน (ข้อมูลโดยประมาณ ในปี 2008) และเป็นเคาน์ตีซีต (เมืองหลวงมณฑล) ของแอนน์อะรันเดลเคาน์ตี ตั้งอยู่บริเวณอ่าวเชสพีก ปากแม่น้ำเซเวิร์น ห่างจากทางตอนใต้ของเมืองบัลติมอร์ 26 ไมล์ (42 กม.) และห่างจากทางตะวันออกของวอชิงตันดีซี 29 ไมล์ (47 กม.) เมืองนี้ยังเคยเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาในปี 1783–1784.

ปฏิบัติการเท็งโงและแอนแนโพลิส · เรือประจัญบานยะมะโตะและแอนแนโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ปฏิบัติการเท็งโงและเกาะคีวชู · เกาะคีวชูและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพิฆาต

ูเอสเอส วินสตัน เอส. เชอร์ชิล (USS Winston S. Churchill) ของกองทัพเรือสหัฐอเมริกา เรือพิฆาต (destroyer) เป็นคำศัพท์เฉพาะทางของกองทัพเรือซึ่งหมายถึงเรือรบที่รวดเร็วและคล่องแคล่ว มีระยะทำการไกล มีหน้าที่คุ้มกันเรือขนาดใหญ่ในกองเรือรบ ขบวนเรือ หรือ หมู่เรือบรรทุกอากาศยาน โดยปกป้องจากเรือรบที่มีขนาดเล็กกว่า มีระยะยิงที่สั้นแต่ทรงพลัง (แต่เดิมคือเรือตอร์ปิโด, ต่อมาภายหลังเป็นเรือดำน้ำและอากาศยาน).

ปฏิบัติการเท็งโงและเรือพิฆาต · เรือประจัญบานยะมะโตะและเรือพิฆาต · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบาน

เรือประจัญบานยามาโตะในปี ค.ศ. 1941 เรือประจัญบาน คือเรือรบหุ้มเกราะขนาดใหญ่ที่มีอาวุธประจำเรือเป็นปืนใหญ่มีระยะยิงไกล ในช่วงปลายสตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เรือประจัญบานถือเป็นเรือรบที่มีพลานุภาพที่สุดในบรรดาเรือรบทั้งหลาย และการมีฝูงเรือประจัญบานถือว่ามีความสำคัญมาก สำหรับประเทศใดๆก็ตามที่ต้องการคงไว้ซึ่งความเป็นใหญ่ทางทะเล คำว่า เรือประจัญบาน ถูกกำหนดขึ้นเมื่อราว ปี 1794 และเป็นคำลดรูปมาจาก เรือรบแนวเส้นประจัญบาน (ship of the line of battle) หรือที่เรียกสั้นๆว่า เรือเส้นประจัญบาน (ship of the line) อันเป็นเรือรบต่อด้วยไม้ ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดใน ยุคสมัยของเรือใบ (Age of Sail)"battleship" The Oxford English Dictionary.

ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบาน · เรือประจัญบานและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องบินทะเล

กรัมแมน จี-111 อัลบาทรอสส์ เรือบินสะเทินน้ำสะเทินบกของสายการบินชาล์กส์นำเครื่องลงที่อ่าวไมอามีในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1987 เครื่องบินทะเล หรือ เครื่องบินน้ำ (sea plane) เป็นอากาศยานปีกตรึงที่สามารถนำเครื่องขึ้นและลงบนน้ำได้ เครื่องบินทะเลที่สามารถนำเครื่องขึ้นและลงในสนามบินได้ถือเป็นชนิดย่อยของเครื่องบินทะเลเรียกว่าอากาศยานสะเทินน้ำสะเทินบก (amphibian aircraft) เครื่องบินทะเลและอากาศยานสะเทินน้ำสะเทินบกยังแบ่งได้อีก 2 ชนิดตามลักษณะบนพื้นฐานของเทคโนโลยีคือ เครื่องบินทุ่นลอยน้ำ (floatplane) และ เรือบิน (flying boat) บางครั้งเครื่องบินทะเลก็เรียกว่า hydroplane.

ปฏิบัติการเท็งโงและเครื่องบินทะเล · เครื่องบินทะเลและเรือประจัญบานยะมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ

ปฏิบัติการเท็งโง มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ เรือประจัญบานยะมะโตะ มี 47 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 12.62% = 13 / (56 + 47)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปฏิบัติการเท็งโงและเรือประจัญบานยะมะโตะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »