เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก

ปฏิบัติการครอสโรดส์ vs. ประเทศเม็กซิโก

ปฏิบัติการครอสโรดส์ (Operation Crossroads) เป็นชุดการทดลองระเบิดนิวเคลียร์โดยสหรัฐอเมริกา การทดลองทุกครั้งในชุดการทดลองนี้จัด ณ​ บิกีนีอะทอลล์ ในช่วงกลางปี 1956 ครอสโรดส์ เป็นการทดลองหลังจาก ทรินิตี ซึ่งทดลองช่วงเดือนกรกฎาคม 1945 และเป็นการระเบิดครั้งแรกตั้งแต่การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะนะงะซะกิ โดยมีจุดมุ่งหมายการทดลองเพื่อทดสอบความเสียหายจากระเบิดนิวเคลียร์ที่มีผลต่อเรือรบ ชุดการทดลอง ครอสโรดส์ ประกอบไปด้วยระเบิดสองลูก โดยทั้งคู่มีแรงระเบิด 23 กิโลตันทีเอ็นทีเท่ากัน ลูกแรกทดลองวันที่ 1 กรกฎาคม 1946 สมญานามว่า เอเบิล ซึ่งจุดระเบิดเหนือพื้นดิน 160 เมตร อีกลูกหนึ่งทดลองวันที่ 25 กรกฎาคม 1946 มีสมญานามว่า เบเกอร์ ซึ่งจุดระเบิดใต้ผิวน้ำลงไป 27 เมตร แต่ยังมีระเบิดอีกลูกสมญานามว่า ชาร์ลี ที่วางแผนระเบิดในปี 1947 แต่ถูกยกเลิกเสียก่อน จึงเลื่อนการทดลอง ชาร์ลี ไปทดลองในปฏิบัติการวิกแวมซึ่งเป็นการระเบิดใต้ท้องทะเลลึกบริเวณชายฝั่งแคลิฟอร์เนีย การระเบิดของ เอเบิล และ เบเกอร์ เป็นการระเบิดครั้งที่สี่และครั้งที่ห้าในประวัติศาสตร์การระเบิดของสหรัฐอเมริกา (หลังจาก ทรินิตี และ ระเบิดที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ) และเป็นการทดลองครั้งแรกที่จัดขึ้นบริเวณเหมู่เกาะมาร์แชลล์ ซึ่งการทดลองอีกหลาย ๆ ครั้งต่อมาก็จัดที่บริเวณนี้ ผู้คนที่อาศัยอยู่บนเกาะบิกีนีแต่เดิมยินยอมที่จะย้ายออกจากเกาะ โดยคนส่วนมากย้ายไปอยู่ที่รองเกริคอะทอลล์ (Rongerik Atoll) และต่อมาในทศวรรษ 1950 มีการทดลองระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์อีกหลายครั้งที่จัดขึ้นบริเวณเกาะบิกีนี ทำให้เกิดการปนเปื้อนในน้ำทะเลและในอากาศอย่างมากซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของชาวเกาะ เช่นการทำฟาร์ม และการหาปลา แม้ในปัจจุบันเกาะบิกีนีก็ยังใช้ในการอยู่อาศัยไม่ได้ แม้จะมีการยืนยันว่าผู้เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการครอสโรดส์จะได้รับการป้องกันจากรังสีเป็นอย่างดี แต่ก็ยังมีการศึกษาที่ว่าอายุขัยเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมปฏิบัติการลดลงสามเดือนจากคนทั่วไป ผลจากการระเบิดของ เบเกอร์ ทำให้เรือเป้าทุกลำปนเปื้อนสารกำมันตรังสี และทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของสารกำมันตรังสีเป็นวงกว้าง จนทำให้นักเคมีนามว่าเกลนน์ ซีบอร์ก ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งประธานของคณะกรรมาธิการพลังงานนิวเคลียร์ได้กล่าวถึง เบเกอร์ ว่าเป็น "จุดเริ่มต้นของภัยพิบัตินิวเคลียร์ของโลก". ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก

ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก

ปฏิบัติการครอสโรดส์ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประเทศเม็กซิโก มี 148 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 148)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปฏิบัติการครอสโรดส์และประเทศเม็กซิโก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: