โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิทินไทยและสงกรานต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปฏิทินไทยและสงกรานต์

ปฏิทินไทย vs. สงกรานต์

ปฏิทินไทย (อังกฤษ: Thai calendar) เป็นปฏิทินชนิดที่เรียกว่าสุริยจันทรคติ โดยใช้ปฏิทินสุริยคติไทยในทางราชการและนิยมใช้ทั่วประเทศไทย ซึ่งขณะเดียวกัน ปฏิทินจันทรคติไทย มีการใช้งานในการนับวันสำคัญทางพุทธศาสนาและวันข้างขึ้นข้างแรม. ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปฏิทินไทยและสงกรานต์

ปฏิทินไทยและสงกรานต์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุริยยาตรสงกรานต์จุลศักราช15 เมษายน

สุริยยาตร

ริยยาตร เป็นดาราศาสตร์แผนไทยแต่ครั้งอดีตตั้งแต่สุโขทัยลงมาโดยมีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดีย สยามประเทศได้มีตำราดาราศาสตร์ที่สืบตกทอดใช้ทำปฏิทินดวงดาว (Ephemeris) หรือปฏิทินโหรรายปี และสำหรับในการทำกราฟแผนที่ดาว ผูกดวง (ดาว) และเป็นหลักในการเทียบทำปฏิทินจันทรคติไทย มาแต่อดีต ตำรานี้ที่ตกทอดมาเป็นเพียงแต่สูตร บวก ลบ คูณ หารเท่านั้น ไม่มีเหตุผลประกอบถึงกลไกในการคำนวณ ทำให้ตำรานี้ หยุดการพัฒนาไปหลายทศวรรษ ผู้ที่ศึกษาตำรานี้จะเรียนรู้แต่วิธีคำนวณไปตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้เท่านั้นจนปี พ.ศ. 2545 อาจารย์ไพศาล เตชจารุวงศ์ เป็นผู้ถอดรหัสสุริยยาตรได้ทั้งหมด ทำให้ทราบทั้งกลไก เหตุผลและ ทำให้พบตารางไซน์และโคไซน์ที่ปรากฏในตำรานี้ด้วย สุริยยาตรเป็นหลักฐานหนึ่งที่ชี้ชัดว่า ไทยเราได้รับศาสตร์แห่งตรีโกณมิติ มาเป็นเวลากว่า 700 ปีขึ้นไป แต่เนื่องจากไม่เคยมีการตีพิมพ์หรือนำเสนอเกี่ยวกับกลไก เหตุผลที่ได้ค้นพบ ดังนั้นผู้ที่สนใจจะศึกษาค้นคว้ายังคงต้องอ่านจากตำราเดิมของไทย และรับทราบไว้แค่ว่ามีผู้ที่ทราบกลไก และเหตุผลของสุริยยาตร์แล้วเพียงเท่านั้น.

ปฏิทินไทยและสุริยยาตร · สงกรานต์และสุริยยาตร · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ปฏิทินไทยและสงกรานต์ · สงกรานต์และสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

จุลศักราชและปฏิทินไทย · จุลศักราชและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

15 เมษายนและปฏิทินไทย · 15 เมษายนและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปฏิทินไทยและสงกรานต์

ปฏิทินไทย มี 59 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงกรานต์ มี 75 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.99% = 4 / (59 + 75)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปฏิทินไทยและสงกรานต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »