โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์

ปฏิทรรศน์ vs. มอลีแยร์

ปฏิทรรศน์ หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกความคิดทั่วไป โดยทั่วไปแล้วอาจเป็นไปได้ว่า ประโยคดังกล่าวนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ได้นำไปสู่สภาวะขัดแย้ง ผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ใช่ข้อขัดแย้งจริง ๆ หรือข้อกำหนดในตอนต้นอาจไม่จริงหรือไม่สามารถเป็นจริงพร้อม ๆ กันได้ คำว่าปฏิทรรศน์หรือพาราด็อกซ์มักถูกใช้แทนที่ไปมากับคำว่าข้อขัดแย้ง อย่างไรก็ตามแนวคิดทั้งสองนั้นไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในขณะที่ข้อขัดแย้งประกาศสิ่งที่ตรงกันข้ามกับตัวเองหลาย ๆ ปฏิทรรศน์กลับมีทางออกหรือคำอ. หมือนของมอลีแยร์ โดยนีกอลา มีญาร์ ฌ็อง-บาติสต์ ปอเกอแล็ง (Jean-Baptiste Poquelin) หรือชื่อที่ใช้ในการแสดงว่า มอลีแยร์ (Molière; รับศีล 15 มกราคม ค.ศ. 1622 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1673) เป็นนักเขียนบทละครและนักแสดงชาวฝรั่งเศสที่ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในบรมครูด้านสุขนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในแวดวงวรรณคดีตะวันตก ในบรรดาผลงานของเขาทั้งหมด ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Le Misanthrope ("ผู้เกลียดชังมนุษย์"), L'École des Femmes ("โรงเรียนสำหรับภรรยา"), Tartuffe ou L'Imposteur ("ตาร์ตุฟหรือผู้แอบอ้าง"), L'Avare ("คนตระหนี่"), Le Malade Imaginaire ("ผู้ป่วยโรคอุปาทาน") และ Le Bourgeois Gentilhomme ("สุภาพบุรุษชนชั้นกลาง").

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์

ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์

ปฏิทรรศน์ มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ มอลีแยร์ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปฏิทรรศน์และมอลีแยร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »