เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ดัชนี บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

สารบัญ

  1. 46 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2455พ.ศ. 2480พ.ศ. 2489พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2522พ.ศ. 2526พ.ศ. 2529พ.ศ. 2535พ.ศ. 2542พรรคกิจสังคมพรรคประชาธิปัตย์กองอาสารักษาดินแดนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหะริน หงสกุลอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทรอำเภอเถินอุทัย พิมพ์ใจชนจังหวัดลำปางจังหวัดแม่ฮ่องสอนธารทอง ทองสวัสดิ์ควง อภัยวงศ์ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์นายกรัฐมนตรีนางสาวไทยใหญ่ ศวิตชาติโชติ คุ้มพันธ์เด็กวัดเปรม ติณสูลานนท์1 พฤศจิกายน15 มกราคม15 เมษายน17 มีนาคม19 มีนาคม4 เมษายน7 พฤษภาคม8 มกราคม9 พฤษภาคม

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2455

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2480

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2526

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพ.ศ. 2542

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพรรคกิจสังคม

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพรรคประชาธิปัตย์

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และกองอาสารักษาดินแดน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

หะริน หงสกุล

ลอากาศเอกหะริน หงสกุล (29 สิงหาคม พ.ศ. 2457 — 10 มีนาคม พ.ศ. 2551) อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานรัฐสภา พลอากาศเอกหะริน หงสกุล เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของหลวงอนุภาณดิสยานุสรรค์ กับ พระพี่เลี้ยงหวน หงสกุล(2428-2532) ในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ จบการศึกษาชั้นมัธยมจาก โรงเรียนเทพศิรินทร์ และโรงเรียนนายร้อยทหารบก จากนั้นศึกษาต่อวิชาการบิน และย้ายไปสังกัดกองทัพอากาศไทย และไปศึกษาต่อวิชาเสนาธิการทหารอากาศ ที่ ประเทศอังกฤษ ขณะมียศเป็นนาวาอากาศโท เพื่อเตรียมการจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศและโรงเรียนนายเรืออากาศของไทย นายทหารที่เดินทางไปศึกษาพร้อมกันในครั้งนั้นคือ นาวาอากาศโททวี จุลละทรัพย์ นาวาอากาศตรีสวัสดิ์ โพธิ์วิหคและ นาวาอากาศตรีละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ พลอากาศเอก หะริน เคยเป็นผู้ช่วยทูตทหารอากาศประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมามีตำแหน่งทางการทหารสูงสุด เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาหลายสมัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เมื่อ..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และหะริน หงสกุล

อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร

ลตำรวจตรีอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร พลตำรวจตรี นายกองใหญ่ อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (หลวงอรรถสิทธิ์สิทธิสุนทร) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และองคมนตรีไทย พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (11 ธันวาคม พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร

อำเภอเถิน

น (25px) เป็นหนึ่งใน 13 อำเภอของจังหวัดลำปาง เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดรองจากอำเภองาว.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และอำเภอเถิน

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และอุทัย พิมพ์ใจชน

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และจังหวัดลำปาง

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และจังหวัดแม่ฮ่องสอน

ธารทอง ทองสวัสดิ์

ร.ธารทอง ทองสวัสดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 2 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำปาง และอดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และธารทอง ทองสวัสดิ์

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และควง อภัยวงศ์

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2458 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 5 สมัย เจ้าของฉายา โค้วตงหมง และเจ้าของวลี ยุ่งตายห.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และนายกรัฐมนตรี

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และนางสาวไทย

ใหญ่ ศวิตชาติ

นายใหญ่ ศวิตชาติ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2450 – 12 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และใหญ่ ศวิตชาติ

โชติ คุ้มพันธ์

ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และโชติ คุ้มพันธ์

เด็กวัด

็กวัด เป็นเด็กชายในประเทศไทยซึ่งอาศัยอยู่ในวัดและคอยรับใช้พระสงฆ์ โดยเด็กวัดจะคอยถือบาตรของพระสงฆ์ในช่วงการบิณฑบาตยามเช้า หลังจากนั้น เด็กวัดจะมีหน้าที่จัดเตรียมอาหารของพระสงฆ์ก่อนที่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากพระฉันเสร็จ ("ข้าวก้นบาตร") เด็กวัดเป็นผู้ถือศีล 10 ประการ เด็กชายบางคนถูกส่งมาเป็นเด็กวัดเพื่อประกอบความดี บ้างก็ถูกส่งมาเพราะมีที่พักและอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เด็กวัดบางคนถูกพระเก็บมาเลี้ยงเนื่องจากไร้พ่อแม่ขาดมิตร ในขณะที่บางส่วนถูกส่งมาเพื่อศึกษาธรรม เด็กวัดบางส่วนบวชเป็นพระ และบ้างก็อาจถือว่าเด็กวัดเป็นขั้นตอนอย่างเป็นทางการสำหรับการบวชเป็นสามเณร ขึ้นอยู่กับอายุและประเพณีท้องถิ่น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และเด็กวัด

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และเปรม ติณสูลานนท์

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ1 พฤศจิกายน

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ15 มกราคม

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ15 เมษายน

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ17 มีนาคม

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ19 มีนาคม

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ4 เมษายน

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ7 พฤษภาคม

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ8 มกราคม

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ดู บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และ9 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์