โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 vs. พ.ศ. 2550

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550. ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550 มี 123 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บอริส เยลต์ซินบุญชู โรจนเสถียรพ.ศ. 2456พ.ศ. 2459พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2469พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2489พ.ศ. 2495พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2510พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2525พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พูนศุข พนมยงค์กิตติ อัครเศรณีกิตติคุณ เชียรสงค์มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2มีนาคมลูชาโน ปาวารอตตีศักดา โมกขมรรคกุล...ศิลปินแห่งชาติศุภพร มาพึ่งพงศ์สมภพ ภิรมย์สาคร ยังเขียวสดสุวัฒน์ วรดิลกสุวิทย์ วัดหนูสุข สูงสว่างหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตรอิซุมิ ซะกะอิอุเทน เตชะไพบูลย์จูหลิง ปงกันมูลทองใบ เรืองนนท์ทนงศักดิ์ ภักดีเทวาท้วม ทรนงขุนส่าดีเด่น เก่งการุณคริส เบนวาคิอิชิ มิยะซะวะคณะองคมนตรีประมาณ ชันซื่อประเทศพม่าประเทศรัสเซียปรีชา เฉลิมวณิชย์ปรีดี พนมยงค์ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญนอร์มัน เมลเลอร์แอนนา นิโคล สมิธโซวีนเบนาซีร์ บุตโตเพ็ญศรี พุ่มชูศรีเกษม ศิริสัมพันธ์เสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์เสรี หวังในธรรมเหี่ยวฟ้าเปลื้อง ฉายรัศมี1 กันยายน1 กุมภาพันธ์1 มิถุนายน10 พฤศจิกายน10 ตุลาคม12 พฤษภาคม12 มกราคม12 มีนาคม12 ตุลาคม13 พฤศจิกายน13 พฤษภาคม13 กรกฎาคม13 มกราคม14 พฤษภาคม15 เมษายน18 พฤศจิกายน18 เมษายน19 กุมภาพันธ์19 มกราคม19 มีนาคม2 ธันวาคม20 กุมภาพันธ์20 ธันวาคม21 พฤษภาคม21 มกราคม23 พฤศจิกายน23 เมษายน24 พฤศจิกายน24 มกราคม25 พฤษภาคม25 มิถุนายน25 ตุลาคม25 เมษายน26 พฤศจิกายน26 กรกฎาคม26 ตุลาคม27 พฤษภาคม27 ธันวาคม28 กันยายน28 กุมภาพันธ์28 มิถุนายน29 มกราคม29 สิงหาคม3 พฤศจิกายน3 กรกฎาคม3 มกราคม30 พฤษภาคม30 มีนาคม31 มกราคม6 กันยายน6 กุมภาพันธ์7 กุมภาพันธ์8 กุมภาพันธ์8 มกราคม8 มิถุนายน8 ธันวาคม8 ตุลาคม9 ธันวาคม ขยายดัชนี (93 มากกว่า) »

บอริส เยลต์ซิน

อริส นีโคลาเยวิช เยลต์ซิน (Бори́с Никола́евич Е́льцин, Boris Yeltsin, 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 23 เมษายน พ.ศ. 2550) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหพันธรัฐรัสเซีย ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

บอริส เยลต์ซินและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · บอริส เยลต์ซินและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และบุญชู โรจนเสถียร · บุญชู โรจนเสถียรและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2456 · พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2459 · พ.ศ. 2459และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2462 · พ.ศ. 2462และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2465 · พ.ศ. 2465และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2466 · พ.ศ. 2466และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2469 · พ.ศ. 2469และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2474 · พ.ศ. 2474และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2475 · พ.ศ. 2475และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2478 · พ.ศ. 2478และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2479 · พ.ศ. 2479และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2480 · พ.ศ. 2480และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2481 · พ.ศ. 2481และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2489 · พ.ศ. 2489และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2495 · พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2500 · พ.ศ. 2500และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2504 · พ.ศ. 2504และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2510 · พ.ศ. 2510และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2521 · พ.ศ. 2521และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2522 · พ.ศ. 2522และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2525 · พ.ศ. 2525และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · พ.ศ. 2550และพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ไว้ว.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพูนศุข พนมยงค์ · พ.ศ. 2550และพูนศุข พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ อัครเศรณี

กิตติ อัครเศรณี อดีตผู้กำกับภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ และผู้อำนวยการสร้างละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ชาวไทย ที่มีชื่อเสียง กิตติ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2484 มีชื่อเล่นว่า "ปี๊ด" เป็นพี่ชายแท้ ๆ ของพิศาล อัครเศรณี ซึ่งเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียง โดยกิตติเป็นทั้งผู้กำกับฯและผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์หลายเรื่อง โดยมีบริษัทผลิตของตนเองและครอบครัวในนาม อัครมีเดีย หรือ อัครเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ มีผลงานหลายเรื่อง อาทิ เสียงเพลงแห่งเสรีภาพ ในปี พ.ศ. 2529, พ่อปลาไหล แม่พังพอน ในปี พ.ศ. 2531, ขุนศึก ในปี พ.ศ. 2538 ทางช่อง 9 เป็นต้น ซึ่งได้สร้างนักแสดงที่มีชื่อเสียงต่อมาหลายคน เช่น ยุรนันท์ ภมรมนตรี, บดินทร์ ดุ๊ก, กนกวรรณ ด่านอุดม, วิมลเรขา ศิริราวรรณ, สุภาภรณ์ แสงทอง, ธนายง ว่องตระกูล และพิยดา อัครเศรณี ซึ่งเป็นหลานสาวแท้ ๆ ของตนเอง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้จัดการนักมวย และมีค่ายมวยเป็นของตนเองด้วยในนาม กิตติเกษม โดยมีนักมวยคนหนึ่งที่เป็นแชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์ฟลายเวทและฟลายเวท คือ เมืองชัย กิตติเกษม ชีวิตส่วนตัว สมรสกับนางทองศรี อัครเศรณี มีบุตรสาวด้วยกันหนึ่งคน คือ วรางค์ อัครเศรณี ในบั้นปลายชีวิต กิตติล้มป่วยลงด้วยโรคประจำตัวหลายโรค เช่น หัวใจโต, เส้นเลือดตีบ และเบาหวาน โดยริ่มป่วยมาตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2541 ด้วยโรคเส้นโลหิตในสมองตีบ ทำให้เป็นอัมพาต แต่หลังจากรักษาตัวอยู่นานอาการเริ่มดีขึ้น จนสามารถขยับร่างกายได้และกลับมาทำงานได้อีกครั้ง แต่ก็ได้เริ่มวางมือจากการเป็นผู้อำนวยการสร้างละครโทรทัศน์ลงจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2549 เกิดป่วยขึ้นอีกครั้งด้วยมีไข้สูง ญาติได้นำตัวส่งโรงพยาบาลชลประทานรังสฤษฎิ์ แพทย์ตรวจพบว่าหัวใจโต, เส้นเลือดตีบ และเป็นเบาหวาน ระหว่างนั้นต้องเข้า ๆ ออก ๆ โรงพยาบาลอยู่เป็นประจำ จนกระทั่งล้มป่วยลงอีกครั้งถึงขั้นโคม่า และเสียชีวิตลงในเวลา 01.00 น. ที่สถาบันโรคทรวงอก ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2550 สิริอายุได้ 66 ปี.

กิตติ อัครเศรณีและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · กิตติ อัครเศรณีและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กิตติคุณ เชียรสงค์

กิตติคุณ เชียรสงค์ หรือ กุ้ง กิตติคุณ (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 - 28 กันยายน พ.ศ. 2550) นักร้องเพลงโฟล์กซอง เจ้าของฉายา ราชาเพลงคันทรี่เมืองไทย เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ที่อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2550 รวมอายุได้ 50 ปี.

กิตติคุณ เชียรสงค์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · กิตติคุณ เชียรสงค์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2

ระประมุขมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 (His Highness Susuga Malietoa Tanumafili II) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระประมุขแห่งรัฐเอกราชซามัว ทรงพระราชสมภพในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2456 เป็นพระราชโอรสใน มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 และโมโมเอ ลูเปอูลูอีวา มาเลอิเซอา ทรงขึ้นครองราชย์พร้อมกับ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมุขตูปัว ตามาเซเซ ซึ่งครองราชย์อยู่ 2 ปี โดยส่วนพระองค์นับถือศาสนาบาไฮ พระราชาธิบดีประมุขแห่งรัฐมาลีเอตัว ขณะครองราชย์ทรงเคยเป็นประมุขแห่งรัฐ ที่มีพระชนมพรรษามากที่สุดในโลก และ ครองราชย์ยาวนานเป็นอันดับ 3 ของโลก พระองค์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ซามัวเป็นเอกราชจากนิวซีแลนด์ได้.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 · พ.ศ. 2550และมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม

มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และมีนาคม · พ.ศ. 2550และมีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ลูชาโน ปาวารอตตี

วารอตติ ลูชาโน ปาวารอตตี (Luciano Pavarotti) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2478 - 6 กันยายน พ.ศ. 2550) เป็นนักร้องโอเปร่าเสียงเทเนอร์ชาวอิตาลี ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ในผลงานที่ชื่อว่า "Three Tenors" ซึ่งเป็นการแสดงโอเปร่า โดยนักร้องชายเสียงเทเนอร์ ที่มีชื่อเสียงที่สุดในยุคปัจจุบันสามคน ประกอบด้วย ลูชาโน ปาวารอตตี, ปลาซิโด โดมิงโก และโฮเซ คาเรราส์ การแสดงของทรีเทเนอร์ส มีขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 14 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อ..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และลูชาโน ปาวารอตตี · พ.ศ. 2550และลูชาโน ปาวารอตตี · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา โมกขมรรคกุล

นายศักดา โมกขมรรคกุล (8 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีกา สมรสกับแพทย์หญิง คุณหญิงสำรวย โมกขมรรคกุล.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และศักดา โมกขมรรคกุล · พ.ศ. 2550และศักดา โมกขมรรคกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และศิลปินแห่งชาติ · พ.ศ. 2550และศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภพร มาพึ่งพงศ์

ร มาพึ่งพงศ์ (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) ผู้บรรยายกีฬาชื่อดัง เป็นผู้บุกเบิกการชมกีฬาอเมริกันฟุตบอลในประเทศไทย ในปี..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และศุภพร มาพึ่งพงศ์ · พ.ศ. 2550และศุภพร มาพึ่งพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ ภิรมย์

ตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ (26 กรกฎาคม 2459 -3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลผู้อนุรักษ์มรดกด้านสถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี 2529 และราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ อดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม เป็นผู้มีผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม และผลงานวิชาการงานเขียนมากมาย ผลงานชิ้นสำคัญ ได้แก่ “กุฎาคาร” “พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยรัตนโกสินทร์” และ “บ้านไทยภาคกลาง” โดยมักจะใช้คำนำหน้าหนังสือหรือบทความว่า “ปกิณกคดีหมายเลข 13” ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และสมภพ ภิรมย์ · พ.ศ. 2550และสมภพ ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สาคร ยังเขียวสด

นายสาคร ยังเขียวสดกับหุ่นกระบอกรูปตัวเขาเอง อาจารย์ สาคร ยังเขียวสด (พ.ศ. 2465 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นศิลปินไทย ทางด้านนาฏกรรม การแสดงหุ่นละครเล็ก ผู้ก่อตั้งนาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก และคณะโจหล.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และสาคร ยังเขียวสด · พ.ศ. 2550และสาคร ยังเขียวสด · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรดิลก

วัฒน์ วรดิลก (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 15 เมษายน พ.ศ. 2550) (นามสกุลเดิม “พรหมบุตร”) บุตรของ ขุนวรกิจอักษร กับ นางจำรัส (ชีวกานนท์) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ และได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ใช้นามปากกาหลายชื่อ ที่รู้จักกันดีคือ "รพีพร" มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ ทวีป วรดิลก ซึ่งเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงเช่นกัน.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และสุวัฒน์ วรดิลก · พ.ศ. 2550และสุวัฒน์ วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ วัดหนู

วิทย์ วัดหนู (20 ธันวาคม พ.ศ. 2495 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2550) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย สลัม และคนจนเมือง เคยเป็นเลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.), ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค เลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา มีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 และเข้าร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และสุวิทย์ วัดหนู · พ.ศ. 2550และสุวิทย์ วัดหนู · ดูเพิ่มเติม »

สุข สูงสว่าง

ูงสว่าง ภาพที่เจ้าตัวชอบมากที่สุด สุข สูงสว่าง ถ่ายคู่กับ เนตร สูงสว่าง พี่ชาย นายสุข สูงสว่าง (พ.ศ. 2475 - 13 มกราคม พ.ศ. 2550) ผู้ก่อตั้งกลุ่มธุรกิจหนังสือดวงกมล ประกอบด้วยร้านหนังสือดวงกมล สำนักพิมพ์ดวงกมล (D.K. Book House) เป็นผู้นำเข้าตำราภาษาอังกฤษ และผู้จัดพิมพ์หนังสือและตำราวิชาการเป็นภาษาไทยเป็นจำนวนมาก เป็นผู้ก่อตั้งนิตยสาร โลกหนังสือ เมื่อ..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และสุข สูงสว่าง · พ.ศ. 2550และสุข สูงสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร

ลตำรวจตรี หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนโตของหม่อมเจ้าจิตรปรีดี ประวิตร และหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร (ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)) หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ สมรสกับ คุณหญิงสุปรียา ประวิตร ณ อยุธยา (รักตประจิต) มีบุตร 2 คน คือ.ต.ท.หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร และพลตรีหม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร รับการศึกษาชั้นประถมที่ โรงเรียนราชินี และมาต่อชั้นมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ โรงเรียน จีลอง แกรมมา สกูล จบการศึกษาด้านวิศวกรรมเครื่องกล เมลเบิร์น เทคนิคอล คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย ศึกษาวิชาตำรวจและสายตรวจวิทยุ ที่สหรัฐอเมริกา ศึกษาวิชาบรรเทาสาธารณภัยที่ประเทศอังกฤษ 2 ปี ก่อนเข้ารับราชการตำรวจเมื่อปี 2498 โดยเป็นตำรวจสังกัดกองตำรวจยานยนต์ สมัย พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ต่อมาในปี 2503 ได้ย้ายมาสังกัดกองตำรวจดับเพลิง ได้เลื่อนยศเป็น ร.ต.อ. ในตำแหน่งหัวหน้าแผนกช่าง จนขึ้นดำรงตำแหน่งผู้บังคับการตำรวจดับเพลิง เมื่อปี 2516 และเป็น ผ.ผ.น. อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งรถวิทยุสายตรวจนครบาล และรถวิทยุตำรวจทางหลวง ก่อตั้งอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยและลูกเสือดับเพลิง และก่อตั้งหน่วยดับเพลิงของประชาชน 111 สถานี รวมถึงเป็นประธานผู้ก่อตั้งสโมสรกีฬาราชประชา และดำรงตำแหน่งนายกสมาคมอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย แห่งประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี อย่างต่อเนื่องมาหลายวาระตั้งแต่ ปี 2533 ได้สร้างราชประชาสปอร์ตชูเล่ย์ สำหรับเก็บตัวนักกีฬา และศูนย์ฝึกดับเพลิงและกู้ภัยที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2528 ในนามพรรคประชากรไทย แต่พ่ายแพ้พลตรีจำลอง ศรีเมือง ไม่ได้รับเลือก พล.ต.ต. ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เมื่อ 29 มกราคม พ.ศ. 2550 เวลา 19.45 น.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร · พ.ศ. 2550และหม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร · ดูเพิ่มเติม »

อิซุมิ ซะกะอิ

แฟนเพลงร่วมวางดอกไม้ไว้อาลัยแก่ อิซุมิ ซะกะอิ อิซุมิ ซะกะอิ ชื่อแต่กำเนิดว่า ซะชิโกะ คะมะชิ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) นักร้องสาวชาวญี่ปุ่น และเป็นสมาชิกของวงซาร์ด (ZARD) อิซุมิเกิดที่จังหวัดคะนะงะวะในประเทศญี่ปุ่น อิซุมิเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงในปี พ.ศ. 2532 โดยเป็นแชมป์ โทเอคาราโอเกะ และเป็นเรซควีนของนิชชิน ต่อมาได้ถ่ายอัลบั้มวาบหวิวชื่อ "NOCTURNE" หลังจากนั้นในปี..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และอิซุมิ ซะกะอิ · พ.ศ. 2550และอิซุมิ ซะกะอิ · ดูเพิ่มเติม »

อุเทน เตชะไพบูลย์

อุเทน เตชะไพบูลย์ (3 มกราคม พ.ศ. 2456 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้งธนาคารศรีนคร และมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นายอุเทน เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท สุรามหาคุณ ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่ายสุราของโรงงานสุราบางยี่ขัน ในชื่อ “แม่โขง” และ “กวางทอง” เมื่อ..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และอุเทน เตชะไพบูลย์ · พ.ศ. 2550และอุเทน เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จูหลิง ปงกันมูล

ูหลิง ปงกันมูล หรือ จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2522 — 8 มกราคม พ.ศ. 2550) เป็นข้าราชการครู ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านกูจิงลือปะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ผู้ถูกจับเป็นตัวประกันไปคุมขังไว้ในอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กใกล้มัสยิดประจำหมู่บ้าน และถูกรุมทำร้ายจนบาดเจ็บสาหัส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 เจ้าหน้าที่สามารถช่วยครูจูหลิงได้และนำตัวส่งโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ และส่งต่อไปยังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในวันต่อมา เนื่องจากเธอถูกตีจนสมองกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้ทรงรับจูหลิงเป็นคนไข้ในพระราชินูปถัมภ์กระทั่งเสียชีวิต.

จูหลิง ปงกันมูลและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · จูหลิง ปงกันมูลและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ทองใบ เรืองนนท์

นายทองใบ เรืองนนท์ (พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2550) ผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครชาตรี) เมื่อ พ.ศ. 2540.

ทองใบ เรืองนนท์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ทองใบ เรืองนนท์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา

ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา (28 สิงหาคม พ.ศ. 2478 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) นักร้องเพลงลูกกรุง นักแสดง อดีตหนึ่งในสามสมาชิกวง "สามศักดิ์" ร่วมกับ มีศักดิ์ นาครัตน์ และศักรินทร์ บุญญฤทธิ์ มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากเล่นละครโทรทัศน์ช่อง 4 บางขุนพรหม มีเพลงที่เป็นที่นิยมมเช่น เพลงหอรักหอร้าง นกเอี้ยงจ๋า ไม่รักไม่ว่า ยามชัง อยู่เพื่อคอยเธอ เดือนต่ำดาวตก เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนโยธินบูรณะ และ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา เดิมชื่อ หัสกรรม เป็นบุตรของนายยอแสง ภักดีเทวา ครูโขนในสังกัดกรมศิลปากร กับนางสุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต (ต่อมานางสุลาลีวัลย์ ได้สมรสใหม่กับ หม่อมเจ้าอติวงศ์วิวัสวัติ สุริยง เป็น หม่อมสุลาลีวัลย์ สุริยง ณ อยุธยา) ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา สมรสกับนางกฤษณา ภักดีเทวา มีบุตร 5 คน บันทึกแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง เอื้องดอกฟ้า เคยได้รับรางวัลพระราชทานแผ่นเสียงทองคำ เมื่อ..

ทนงศักดิ์ ภักดีเทวาและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ทนงศักดิ์ ภักดีเทวาและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ท้วม ทรนง

ท้วม ทรนง หรือชื่อจริง ชูชีพ ช่ำชองยุทธ นักแสดงอาวุโส เกิดเมื่อ..

ท้วม ทรนงและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ท้วม ทรนงและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ขุนส่า

นส่า (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2550) มีชื่อจริงว่า จาง ซีฟู (จีน: 张奇夫; พินอิน: Zhāng Qífú จาง ฉีฝู) และมีชื่อไทยว่า จันทร์ จางตระกูล เป็นอดีตผู้นำกองทัพเมิงไตซึ่งต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชให้แก่ชนกลุ่มน้อยชาวไทใหญ่ในพม่า และเป็นผู้ผลิตและค้าเฮโรอีนและฝิ่นรายใหญ่ของโลก โดยมีที่มั่นอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ มีอิทธิพลอยู่ในเขตรัฐฉานและว้า ขุนส่ามีบิดาเป็นชาวจีน และมีมารดาเป็นชาวไทใหญ่ ชื่อนางแสงคำ ขุนส่าเคยตั้งกองกำลังใหญ่อยู่ที่บ้านหินแตก ในเขตตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ตั้งแต..

ขุนส่าและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ขุนส่าและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ดีเด่น เก่งการุณ

ีเด่น เก่งการุณ หรือ ดีเด่น ไอซ์เจลลิบาล์ม มีชื่อจริงว่านายฐิตินันท์ (กระบวน) บุตรพรหม เกิดเมื่อ 25 เมษายน พ.ศ. 2521 ที.ร้อยเอ็ด เสียชีวิตเมื่อ 30 มีนาคม พ.ศ. 2550 รวมอายุได้ 29 ปี สถิติการชก 36 ครั้ง ชนะ 23 (น็อค 13) เสมอ 2 แพ้ 11.

ดีเด่น เก่งการุณและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ดีเด่น เก่งการุณและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คริส เบนวา

ริสโตเฟอร์ ไมเคิล เบนวา (Christopher Michael Benoit) หรือ คริส เบนวา (21 พฤษภาคม ค.ศ. 1967 - 24 มิถุนายน ค.ศ. 2007) นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา สังกัดสมาคม ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เป็นอดีตแชมป์โลก 2 สมัย, แชมป์โลก WCW 1 สมัย และ แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 1 สมัย เป็นนักมวยปล้ำชนิดเลือกชอบใช้ความรุนแรง แต่ก็อยู่ฝ่ายธรรมะ เป็นลูกศิษย์ของ สตู ฮาร์ต ถือว่าตัวของเขาอาจจะแข็งแกร่งไปพอสมควรเลยก็ว่าได้ ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงแล้วด้วยวัย 40 ปี.

คริส เบนวาและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · คริส เบนวาและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คิอิชิ มิยะซะวะ

อิชิ มิยะซะวะ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2462-28 มิถุนายน พ.ศ. 2550) นายกรัฐมนตรี คนที่ 78 อดีตรัฐมนตรีการค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีคลัง ของญี่ปุ่น นายมิยะซะวะ เกิดที่เมืองฟูกุยามา จังหวัดฮิโรชิมา เมื่อ..

คิอิชิ มิยะซะวะและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · คิอิชิ มิยะซะวะและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

คณะองคมนตรีและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · คณะองคมนตรีและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ ชันซื่อ

ประมาณ ชันซื่อ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานศาลฎีก.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และประมาณ ชันซื่อ · ประมาณ ชันซื่อและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และประเทศพม่า · ประเทศพม่าและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และประเทศรัสเซีย · ประเทศรัสเซียและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เฉลิมวณิชย์

ปรีชา เฉลิมวณิชย์ (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 – 21 มกราคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แต่งตั้งจากผู้พิพากษาศาลฎีกาเมื่อปี 2541 และสิ้นสุดสภาพพร้อมกับศาลรัฐธรรมนูญตามประกาศ คปค. ฉบับที่ 3 เมื่อเดือนกันยายน 2549 และเป็นหนึ่งใน 8 ของตุลาการเสียงข้างมากที่ตัดสินให้อดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ในคดีซุกหุ้นพ้นความผิด โดยให้เหตุผลเหมือนตุลาการอีก 3 คนคือพลโท จุล อติเรก นายสุจินดา ยงสุนทร และนายอนันต์ เกตุวงศ์ ที่่บอกว่าผู้ถูกร้องไม่ได้มีส่วนรู้เห็นกับคู่สมรสที่ดำเนินการไปตามลำพัง จึงฟังไม่ได้ว่าผู้ถูกร้องต้องรู้ในกิจการของกันและกันทุกเรื่อง นายปรีชาเสียชีวิตกะทันหันด้วยโรคหัวใจวายเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2550 ขณะพักผ่อนที่จังหวัดตาก.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และปรีชา เฉลิมวณิชย์ · ปรีชา เฉลิมวณิชย์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และปรีดี พนมยงค์ · ปรีดี พนมยงค์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ

ปาณรวัฐ (ชื่อเดิม: อภิเชษฐ์) กิตติกรเจริญ มีชื่อเล่นว่า บิ๊ก นักร้อง นักแสดงชาวไทย สมาชิกวงดนตรี ดีทูบี เกิดวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2525 และเสียชีวิตวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ขณะอายุ 25 ปี.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ · ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน เมลเลอร์

นอร์มัน เมลเลอร์ (Norman Mailer หรือ Norman Kingsley Mailer) (31 มกราคม ค.ศ. 1923 - (10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007) นอร์มัน เมลเลอร์เป็นนักเขียน, กวี, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทภาพยตร์, Essayist, นักหนังสือพิมพ์, คอลัมนิสต์ และผู้กำกับภาพยนตร์คนสำคัญชาวอเมริกัน เมลเลอร์ และทรูแมน คาโพตี, โจน ดิเดียน, ฮันเทอร์ เอส ทอมสัน, จอห์น แม็คฟี และ ทอม วูล์ฟ ถือว่าเป็นผู้ริเริ่มการเขียนด้วยวิธีใช้ “การบรรยายเรื่องสารคดี” (narrative nonfiction) ซึ่งเป็นประเภทงานเขียนที่เรียกว่า “การเขียนข่าวแนวใหม่” (New Journalism) ที่ใช้ในการเขียนตั้งแต่บทความไปจนถึงนวนิยายเชิงสารคดี (Nonfiction novel) เมลเลอร์ได้รับรางวัลพูลิตเซอร์สองครั้งและรางวัลหนังสือแห่งชาติหนึ่งครั้ง ในปี ค.ศ. 1955 เมลเลอร์และเอ็ด แฟนเชอร์และแดน วูล์ฟตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ประจำสัปดาห์ “The Village Voice” เป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยการเป็นนิตยสารแนวศิลปะ และการเมืองที่เดิมวางตลาดในบริเวณกรีนนิชวิลเลจ ต่อมานิตยสารพัฒนามาเป็นนิตยสารแนวที่ประกอบด้วยบทความเกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวน, การวิจัยเหตุการณ์ปัจจุบัน และวัฒนธรรม, การวิพากษ์ศิลปะ และรายชื่อเหตุการณ์ประจำสัปดาห์ที่เกิดขึ้นในนครนิวยอร์ก ในปี ค.ศ. 2005 เมลเลอร์ได้รับเหรียญ “เหรียญสำหรับผู้มีผลงานทางวรรณกรรมอเมริกันอันดีเด่น” (Medal of Distinguished Contribution to American Letters) จากมูลนิธิหนังสือแห่งชาติ (National Book Foundation).

นอร์มัน เมลเลอร์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · นอร์มัน เมลเลอร์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

แอนนา นิโคล สมิธ

แอนนา นิโคล สมิธ ในปี 2003 แอนนา นิโคล สมิธ (Anna Nicole Smith) หรือ วิกกี ลินน์ โฮแกน มาร์แชลล์ (Vickie Lynn Hogan Marshall) (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510– 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) เป็นนักแสดงอเมริกัน และนางแบบจากนิตยสารเพลย์บอย และเป็นเพลย์เมตประจำปี 2536 แอนนา นิโคล สมิธ เกิดที่เมืองฮิวสตัน รัฐเทกซัส ในเดือนพฤศจิกายน 2510 เธอได้รับเลือกให้ลงปกหนังสือเพลย์บอย และได้กลายมาเป็นนางแบบที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของเพลย์บอย แลในปี 2536 ได้รับเลือกเป็นเพลย์เมตประจำปี เธอเป็นที่รู้จักภายหลังจากที่ได้แต่งงานกับเศรษฐีนักธุรกิจน้ำมัน เจ. ฮาเวิร์ด มาร์แชลล์ ซึ่งอายุ 89 ปี ซึ่งมีทรัพย์สินในตอนนั้นกว่า 400 ล้านและเสียชีวิตภายหลังจากการแต่งงาน 14 เดือน ซึ่งทำให้แอนนาได้รับมรดกมหาศาล ซึ่งมีการฟ้องร้องกันถึงชั้นศาลฎีกาในปี 2549 เธอยังคงเป็นที่รู้จักจากรายการเรียลลิตีโชว์ของเธอเองในชื่อ เดอะแอนนานิโคลโชว์ (The Anna Nicole Show) และยังเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับ ยาลดน้ำหนัก ทริมสปา (TrimSpa) ซึ่งเธอกล่าวว่าช่วยให้เธอลดน้ำหนักลงได้ 31 กก.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และแอนนา นิโคล สมิธ · พ.ศ. 2550และแอนนา นิโคล สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

โซวีน

ลโท โซวีน (စိုးဝင်း၊ ဗိုလ်ချုပ်ကြီး;,พ.ศ. 2491 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศพม่า ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2547 โดยสภาสันติภาพ และการพัฒนาแห่งรัฐ พลโท โซวีน เป็นผู้ใกล้ชิดพลเอกอาวุโส ตานชเว และได้รับความไว้วางใจเป็นอย่างดี โซวีน ถูกส่งตัวเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลในประเทศสิงคโปร์ ด้วยโรคลูคีเมีย (ไม่ได้รับการยืนยันจากทางการพม่า) ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 สภาสันติภาพ และการพัฒนาแห่งรัฐได้มอบหมายให้พลโท เตนเซน รักษาการแทนตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 โซวีน เดินทางกลับเข้าประเทศพม่า เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และโซวีน · พ.ศ. 2550และโซวีน · ดูเพิ่มเติม »

เบนาซีร์ บุตโต

นาซีร์ บุตโต (بینظیر بھٹو, Benazir Bhutto; IPA) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศปากีสถาน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศอิสลาม โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ในปี พ.ศ. 2531 - 2533 และ พ.ศ. 2536 - 2539.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเบนาซีร์ บุตโต · พ.ศ. 2550และเบนาซีร์ บุตโต · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · พ.ศ. 2550และเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเกษม ศิริสัมพันธ์ · พ.ศ. 2550และเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์

กสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2486 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550) พิธีกรรายการ โลกดนตรี ที่จัดฟรีคอนเสิร์ตทุกบ่ายวันสุดสัปดาห์ออกอากาศทางช่อง 5 ต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 25 ปี ตั้งแต่ปี..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ · พ.ศ. 2550และเสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรี หวังในธรรม

นายเสรี หวังในธรรม (3 มกราคม พ.ศ. 2480 — 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี พ.ศ. 2531 ผู้เชี่ยวชาญด้านการสังคีต กรมศิลปากร นายเสรี เกิดเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเสรี หวังในธรรม · พ.ศ. 2550และเสรี หวังในธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เหี่ยวฟ้า

หี่ยวฟ้า มีชื่อจริงว่า พรมมา สระทองแก้ว (พ.ศ. 2478 — 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) หรือบางครั้งในคณะตลกอาจเรียกว่า อีเหี่ยว เป็นศิลปินตลกอาวุโส และเป็นหัวหน้าคณะตลกวง "เหี่ยวฟ้า" เสียชีวิตเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รวมอายุ 72 ปี หลังจากล้มป่วยมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเหี่ยวฟ้า · พ.ศ. 2550และเหี่ยวฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ฉายรัศมี

ปลื้อง ฉายรัศมี ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีอีสานพื้นบ้าน-โปงลาง) นักดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีความสามารถพิเศษสามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่น ดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลางและอื่นๆ โดยเฉพาะ "โปงลาง" นั้น สามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่นได้เป็นพิเศษ และที่สำคัญที่สุดคือ เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุงและพัฒนาโปงลางมาตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้ "เกราะลอ" ซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นก กา ตามไร่ ตามนา พัฒนามาเป็น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ กังวาน และให้ความรู้สึกของความเป็นพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริงเป็นที่นิยมกันแพร่ หลายและยอมรับกันว่า "โปงลาง" เป็น เครื่องดนตรีเอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับ "แคน" ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว จึงสมควรยกย่องและเชิดชู นายเปลื้อง ฉายรัศมี ไว้ในฐานะเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) อย่างแท้จริง ดังนั้นคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง นายเปลื้อง ฉายรัศมี ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๒๙ และได้รับพระราชทานโล่ เข็มเชิดชูเกียรติในวันเสาร์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐ ซึ่งเป็นวันศิลปินแห่งชาติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรล.

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และเปลื้อง ฉายรัศมี · พ.ศ. 2550และเปลื้อง ฉายรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

1 กันยายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 1 กันยายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

1 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 1 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

1 มิถุนายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 1 มิถุนายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

10 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 10 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

10 ตุลาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 10 ตุลาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

12 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 12 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

12 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 12 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

12 มีนาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 12 มีนาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

12 ตุลาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 12 ตุลาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

13 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 13 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

13 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 13 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

13 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 13 กรกฎาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

13 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 13 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

14 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 14 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

15 เมษายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 15 เมษายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

18 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 18 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

18 เมษายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 18 เมษายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

19 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 19 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

19 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 19 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

19 มีนาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 19 มีนาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

2 ธันวาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 2 ธันวาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

20 กุมภาพันธ์

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).

20 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 20 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

20 ธันวาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 20 ธันวาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

21 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 21 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

21 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 21 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

23 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 23 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

23 เมษายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 23 เมษายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤศจิกายน

วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.

24 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 24 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

24 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 24 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

25 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 25 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

25 มิถุนายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 25 มิถุนายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

25 ตุลาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 25 ตุลาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

25 เมษายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 25 เมษายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

26 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 26 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

26 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 26 กรกฎาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

26 ตุลาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 26 ตุลาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

27 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 27 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

27 ธันวาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 27 ธันวาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

28 กันยายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 28 กันยายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

28 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 28 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

28 มิถุนายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 28 มิถุนายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

29 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 29 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

29 สิงหาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 29 สิงหาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

3 พฤศจิกายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 3 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

3 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 3 กรกฎาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

3 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 3 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤษภาคม

วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.

30 พฤษภาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 30 พฤษภาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

30 มีนาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 30 มีนาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

31 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 31 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

6 กันยายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 6 กันยายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

6 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 6 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

7 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 7 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

8 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 8 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

8 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 8 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

8 มิถุนายนและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 8 มิถุนายนและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

8 ธันวาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 8 ธันวาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

8 ตุลาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 8 ตุลาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

9 ธันวาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · 9 ธันวาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 มี 126 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2550 มี 500 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 123, ดัชนี Jaccard คือ 19.65% = 123 / (126 + 500)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550และพ.ศ. 2550 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »