โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา

บิกแบง vs. หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา

ตาม'''ทฤษฎีบิกแบง''' จักรวาลมีจุดกำเนิดมาจากสภาพที่มีความหนาแน่นสูงและร้อน และจักรวาลมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา บิกแบง (Big Bang, "การระเบิดครั้งใหญ่") เป็นแบบจำลองของการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพในจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกันจำนวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คำนี้กล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่มที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจำกัดระยะหนึ่งในอดีต และยังคงดำเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ นักวิทยาศาสตร์และพระโรมันคาทอลิก เป็นผู้เสนอแนวคิดการกำเนิดของเอกภพ ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อ ทฤษฎีบิกแบง ในเบื้องแรกเขาเรียกทฤษฎีนี้ว่า สมมติฐานเกี่ยวกับอะตอมแรกเริ่ม (hypothesis of the primeval atom) อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน ทำการคำนวณแบบจำลองโดยมีกรอบการพิจารณาอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ต่อมาในปี.. ในการศึกษาจักรวาลวิทยา หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา เป็นสมมุติฐานที่ใช้งานอยู่ในการอธิบายถึงโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล โดยระบุว่า กล่าวโดยละเอียดดังนี้ หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยานี้ทำให้มีทฤษฎีทางจักรวาลที่เป็นไปได้เพียงจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้ผลสอดคล้องกับการสังเกตการณ์ คือ (1) การกระจายตัวของดาราจักรในอวกาศ (2) การกระจายตัวของแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุ และ (3) การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา

บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาลอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมนฌอร์ฌ เลอแม็ทร์จักรวาลวิทยาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ

รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล

รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล (cosmic microwave background radiation; เรียกย่อว่า CMB, MBR, หรือ CMBR) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบหนึ่งที่แผ่อยู่ในเอกภพ กล่าวให้เข้าใจง่าย เมื่อเรามองดูท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ห้วงอวกาศระหว่างดาวและดาราจักรต่างๆ จะไม่เป็นสีดำ แต่กลับมีการเรืองแสงน้อยๆ อยู่ที่เกือบจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเส้นเรืองแสงนั้นไม่ได้มาจากดาวฤกษ์หรือดาราจักรใดๆ เลย เส้นเรืองแสงนี้จะเข้มที่สุดในย่านคลื่นไมโครเวฟของสเปกตรัมวิทยุ มันจึงได้ชื่อว่า รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ส่วนที่เกี่ยวข้องกับรังสีก็เนื่องมาจากทฤษฎีซึ่งเป็นที่แพร่หลายที่อธิบายว่า การแผ่รังสีนี้เป็นสิ่งหลงเหลือจากเอกภพยุคแรกเริ่ม การตรวจวัดการแผ่รังสีพื้นหลังของจักรวาลอย่างแม่นยำมีความสำคัญมากในการศึกษาจักรวาลวิทยา เพราะแบบจำลองของเอกภพใดๆ ก็ตามจะต้องสามารถอธิบายการแผ่รังสีที่ตรวจพบนี้ได้ด้วย การค้นพบเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1965 ที่ว่ากันว่าเป็นรังสีที่แผ่ปกคลุมทั้งเอกภพ มีสเปกตรัมคล้ายกับวัตถุดำที่มีอุณหภูมิ 2.725 เคลวินในช่วงความถี่160.2 กิโลเฮิร์ตซ์ หรือคำนวณเป็นความยาวคลื่นประมาณ 1.9 มิลลิเมตรนักจักรวาลวิทยาส่วนใหญ่คิดว่าไมโครเวฟพื้นหลังนี้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดสำหรับการสนับสนุนทฤษฎีบิ๊กแบง อันเป็นทฤษฎีการกำเนิดเอกภพที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดในปัจจุบัน.

บิกแบงและรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล · รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาลและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..

บิกแบงและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ · หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยาและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน

อเล็กซานเดอร์ อเล็กซานโดรวิช ฟรีดมาน (Alexander Alexandrovich Friedman; Александр Александрович Фридман) (16 มิถุนายน ค.ศ. 1888, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, จักรวรรดิรัสเซีย – 16 กันยายน ค.ศ. 1925, เลนินกราด, สหภาพโซเวียตรัสเซีย) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักจักรวาลวิทยาชาวรัสเซียและสหภาพโซเวียต ผู้ค้นพบคำตอบของการขยายตัวของเอกภพจากสมการสนามของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในปี ค.ศ. 1922 สอดคล้องกับการสังเกตการณ์ของ เอ็ดวิน ฮับเบิล ในปี ค.ศ. 1929 บทความวิชาการของฟรีดมานใน..

บิกแบงและอเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน · หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยาและอเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์

มงแซเญอร์ฌอร์ฌ อ็องรี โฌแซ็ฟ เอดัวร์ เลอแม็ทร์ (Monseigneur Georges Henri Joseph Édouard Lemaître; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 - 20 มิถุนายน ค.ศ. 1966) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวเบลเยียม มีสมณศักดิ์เป็นเพรเลต และเป็นศาสตราจารย์ด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยคาทอลิกเลอเฟิน บางครั้งเรียกโดยย่อด้วยชื่อตำแหน่งว่า "คุณพ่อ" (Abbé) หรือ "พระคุณเจ้า" (Monseigneur) เลอแม็ทร์ได้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับต้นกำเนิดของจักรวาล ซึ่งต่อมากลายมาเป็นทฤษฎีบิกแบง เขาเรียกทฤษฎีของเขาว่า "สมมุติฐานว่าด้วยอะตอมแรกเริ่ม".

ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์และบิกแบง · ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์และหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวาลวิทยา

ักรวาลวิทยา (cosmology) เป็นการศึกษาเอกภพโดยรวม ซึ่งนับว่าเป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นพื้นฐานที่สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งทั้งหลายในเอกภพ พร้อมกับพยายามที่จะอธิบายความเป็นมาของเอกภพในอดีต และทำนายความเป็นไปของเอกภพในอนาคต เอกภพเป็นอย่างไร เอกภพมีขอบเขตจำกัดหรือไม่ เอกภพเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดเอกภพจึงมีรูปร่างลักษณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตข้างหน้าเอกภพจะเป็นอย่างไร ปัญหาเหล่านี้คือสิ่งที่นักจักรวาลวิทยาทั้งหลายสนใจ จักรวาลวิทยาในความหมายที่กว้างที่สุด จะหมายถึงการทำความเข้าใจเอกภพโดยอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา หรือศิลปะ แต่โดยทั่วไปในปัจจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาเอกภพโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นสองเครื่องมือสำคัญในการใช้ศึกษาเอกภพ เป็นที่ยอมรับกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า ยิ่งเรามีความรู้ทางด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์มากขึ้นเท่าใด เราก็จะยิ่งมีความเข้าใจในเอกภพมากขึ้นเท่านั้น มโนทัศน์เกี่ยวกับเอกภพของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยโลก คือ เทพเจ้าชื่อเก็บ ซึ่งถูกโอบล้อมด้วยท้องฟ้าคือ นัท ต่อมาเมื่อชาวกรีกโบราณศึกษาท้องฟ้าและการโคจรของดวงดาวมากขึ้น เขาก็สามารถสร้างแบบจำลองเอกภพที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษานั้น โดยให้โลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพ และมีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรอยู่รายล้อม แบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลางนี้เป็นที่ยอมรับกันมานับพันปี ก่อนที่โคเปอร์นิคัสจะเสนอแบบจำลองใหม่ที่ให้ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ด้วยเหตุผลว่าแบบจำลองนี้ใช้การคำนวณที่ซับซ้อนน้อยกว่า (หลักการของออคแคม) จะเห็นว่าความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นนั้นทำให้มนุษย์มองโลกและเอกภพต่างออกไป การศึกษาเอกภพก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะในศตวรรษนี้มีทฤษฎีใหม่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของเอกภพมากขึ้น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และควอนตัมฟิสิกส์ รวมทั้งมีการค้นพบหลายสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการจักรวาลวิทยา เช่น การค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายตัว หรือการค้นพบการแผ่รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบื้องหลัง เป็นต้น ทั้งทฤษฎีและการค้นพบใหม่ ๆ เหล่านี้ทำให้ภาพของเอกภพในใจมนุษย์นั้นกระจ่างแจ่มชัดและใกล้เคียงความจริงยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับว่าสิ่งที่มนุษย์รู้เกี่ยวกับเอกภพนั้นยังน้อยมาก และยังคงมีอีกหลายปัญหาในทางจักรวาลวิทยาที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ในปัจจุบัน.

จักรวาลวิทยาและบิกแบง · จักรวาลวิทยาและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

การทดสอบสัมพัทธภาพทั่วไปความเที่ยงสูงโดยยานอวกาศแคสซินี สัญญาณวิทยุที่ส่งระหว่างโลกและยาน (คลื่นสีเขียว) ถูกหน่วงโดยการบิดของปริภูมิ-เวลา (เส้นสีน้ำเงิน) เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์ สัมพัทธภาพทั่วไปหรือทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity หรือ general theory of relativity) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์จัดพิมพ์ใน..

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและบิกแบง · ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ

ำหรับจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ โครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ (Large-scale structure) หมายถึงคุณลักษณะการกระจายตัวที่สังเกตได้ของสสารและแสงในจักรวาลในระดับมหภาค (โดยมากในระดับที่วัดกันเป็นหน่วย พันล้านของปีแสง) การสำรวจท้องฟ้าและการจัดทำแผนที่โดยอาศัยช่วงคลื่นการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในระดับต่างๆ กันช่วยทำให้เราได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประกอบและลักษณะของโครงสร้างเอกภพ หากจะจัดลำดับชั้นของโครงสร้าง ระดับที่สูงที่สุดได้แก่ ซูเปอร์คลัสเตอร์ และ ใยเอกภพ ในระดับที่สูงกว่านี้ดูจะไม่มีโครงสร้างต่อเนื่องที่แน่ชัด ลักษณะเช่นนี้เรียกชื่อกันว่า จุดสิ้นสุดของความยิ่งใหญ่ (End of Greatness).

บิกแบงและโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ · หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยาและโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา

บิกแบง มี 134 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 4.93% = 7 / (134 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บิกแบงและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »