โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม

บาปใหญ่ (ในอิสลาม) vs. โจรกรรม

ปใหญ่ ในสาระธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมายถึง บาปต่างๆ ที่อัลกุรอาน และรายงาน (ริวายะฮ์) ต่างๆ จากบรรดาอิมามของชีอะฮ์ ได้สัญญาบทลงโทษแห่งไฟนรกเอาไว้ สำหรับจำนวนบาปใหญ่นั้นมีความแตกต่างกันออกไปในนิกายต่างๆ ของอิสลาม (ชีอะฮ์และซุนนี) บ้างก็กล่าวว่ามี 25 บาป บ้างก็กล่าวไว้ถึง 70 บาป  พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในอัลกุรอาน บท นิซา โองการที่ 31 ว่า ﴿إِنْ تَجْتَنِبُوا كَبَائِرَ مَا تُنْهَوْنَ عَنْهُ نُكَفِّرْ عَنْكُمْ سَيِّئَاتِكُمْ وَنُدْخِلْكُمْ مُدْخَلًا كَرِيمًا﴾ หากพวกเจ้าปลีกตัวออกจากบาปใหญ่ทั้งหลายที่พวกเจ้าถูกห้ามให้ละเว้นมันแล้ว เราก็จะลบล้างความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ ของพวกเจ้า ออกจากพวกเจ้า และเราจะให้พวกเจ้าเข้าอยู่ในสถานที่อันมีเกียรติ ตามสาระธรรมคำสอนของศาสนาอิสลามถือว่า ผู้ที่ทำบาปใหญ่แล้วไม่กลับตัวกลับใจ เขาคือคนชั่ว ซึ่งไม่อาจนมาซตามได้ การเป็นพยานของเขาจะไม่ถูกตอบรับ และภายหลังจากเสียชีวิตเขาคือผู้ที่ตัองได้รับการลงทัณฑ์จากพระผู้เป็นเจ้า นอกเสียจากว่าพระผู้เป็นเจ้าจะโปรดปรานแก่เขา โดยผ่านการได้รับการอนุเคราะห์จากท่านศาสดาแห่งอิสลามและลูกหลานผู้บริสุทธิ์ของท่าน ท่านศาสดาแห่งอิสลามได้ดำรัสไว้เกี่ยวกับการให้การอนุเคราะห์ว่า ฉันเก็บการอนุเคราะห์ของฉันไว้ให้แก่ประชาชาติของฉันที่ทำบาปใหญ่  การอนุเคราะห์ของฉันมีไว้สำหรับประชาชาติของฉันที่ทำบาปใหญ่  ส่วนผู้ทำความดี กล่าวคือละเว้นจากการทำบาปใหญ่พวกเขาย่อมไม่ได้รับการลงโทษ. รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม

บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): โจรกรรม

โจรกรรม

รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.

บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม · โจรกรรมและโจรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม

บาปใหญ่ (ในอิสลาม) มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ โจรกรรม มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.45% = 1 / (11 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บาปใหญ่ (ในอิสลาม)และโจรกรรม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »