โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์)

บางระจัน (ภาพยนตร์) vs. บางระจัน (ละครโทรทัศน์)

งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ความยาว 127 นาที. งระจัน เป็นละครโทรทัศน์ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างจากวรรณกรรมอมตะของ ไม้ เมืองเดิม โดยก่อนหน้านี้เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์)

บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์) มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บางระจันบางระจัน 2 (ภาพยนตร์)ชุมพร เทพพิทักษ์ภาพยนตร์ไทยธนิตย์ จิตนุกูล

บางระจัน

ที่ตั้งค่ายบางระจัน เมื่อเทียบกับในปัจจุบัน บางระจัน เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวบ้านเมืองสิงห์บุรีและเมืองต่าง ๆ ที่พากันมาหลบภัยจากกองทัพพม่าที่บางระจัน ก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง สามารถต้านทานการเข้าตีของกองทัพพม่าได้หลายครั้ง และมีกิตติศัพท์เลื่องลือในด้านวีรกรรมความกล้าหาญในประวัติศาสตร์ไทย โดยมีอนุสาวรีย์สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมในครั้งนี้ในตำบลบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี.

บางระจันและบางระจัน (ภาพยนตร์) · บางระจันและบางระจัน (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน 2 (ภาพยนตร์)

งระจัน 2 เป็นภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ภาคต่อเนื่องจาก บางระจัน กำกับภาพยนตร์โดย ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553 จัดจำหน่ายโดย พระนครฟิลม.

บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน 2 (ภาพยนตร์) · บางระจัน (ละครโทรทัศน์)และบางระจัน 2 (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ชุมพร เทพพิทักษ์และบางระจัน (ภาพยนตร์) · ชุมพร เทพพิทักษ์และบางระจัน (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

บางระจัน (ภาพยนตร์)และภาพยนตร์ไทย · บางระจัน (ละครโทรทัศน์)และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนิตย์ จิตนุกูล

นิตย์ จิตนุกูล (ชื่อเล่น: ปื๊ด; เกิด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดสงขลา) ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง นักเขียนบทภาพยนตร์ไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ไทย เรื่อง บางระจัน ที่ออกฉายในปี..

ธนิตย์ จิตนุกูลและบางระจัน (ภาพยนตร์) · ธนิตย์ จิตนุกูลและบางระจัน (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์)

บางระจัน (ภาพยนตร์) มี 44 ความสัมพันธ์ขณะที่ บางระจัน (ละครโทรทัศน์) มี 86 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 3.85% = 5 / (44 + 86)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บางระจัน (ภาพยนตร์)และบางระจัน (ละครโทรทัศน์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »