โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา

บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอีย vs. ปลากระเบนแมนตา

กัน แบทเทิลบรอว์เลอร์ส นิวเวสโทรเอีย เป็นภาพยนตร์อะนิเมะชุดที่ 2 ของภาพยนตร์ซีรีส์บาคุกันโดยดำเนินเรื่องเป็นภาคที่ 2 ของบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ ผลิตโดย TMS Entertainment โดยภาคนี้ออกอากาศในต่างประเทศเป็นที่แรกก่อนประเทศญี่ปุ่นโดยมี 3 ประเทศคือประเทศสหรัฐอเมริกา, ประเทศแคนาดา และ ประเทศไทย และเริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 2010 ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีโตเกียว ทุกวันอังคารเวลา 19:00 น. - 19:30 น. ภายหลังได้ย้ายวันและเวลาออกอากาศเป็นทุกวันเสาร์เวลา 10:30 น. - 11:00 น. และย้ายวันเวลาอีกครั้งเป็นวันอาทิตย์เวลา 9:00 น. - 9:30 น. ส่วนประเทศไทยลิขสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายเป็นของบริษัท ดรีม เอกซ์เพรส จำกัด โดยใช้ชื่อว่า บาคุกันภาค 2 การผจญภัยบทใหม่ในเวสโทรเอีย ออกอากาศทางช่องทรู สปาร์กของทรูวิชั่น. ปลากระเบนแมนตา หรือ ปลากระเบนราหู (Manta rays) เป็นปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 เมตร หรือ 22 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 1,350 กิโลกรัม หรือ 3,000 ปอนด์ อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ แนวปะการัง จัดอยู่ในสกุล Manta (เป็นภาษาสเปนแปลว่า "ผ้าห่ม") ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) เดิมทีแล้ว ปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ในวงศ์ Mobulidae แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนปลากระเบนทั่วไป ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ เต่าหก ((Manouria emys)) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกินแพลงก์ตอน และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะวิวัฒนาการมาเป็นกรองกินแพลงก์ตอนตามทะเลเปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ลักษณะการกรองกินทำให้ฟันลดขนาดลงเป็นซี่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่แอบอยู่ใต้ผิว คล้ายกับปลากระเบนทั่วไป มีหางเป็นเส้นยาว แต่หากปราศจากเงี่ยงที่ส่วนหาง และเกล็ดแหลมหุ้มลำตัวก็มีขนาดเล็กลง แทนที่ด้วยเมือกหนาหุ้มร่างกาย ส่วนท่อน้ำออกมีขนาดเล็กและไม่ทำหน้าที่ น้ำทั้งหมดไหลเข้าสู่ปากแทน เพื่อการว่ายน้ำที่ดี ปลากระเบนแมนตาวิวัฒนาการรูปร่างร่างกายให้เป็นสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด และมีการพัฒนาครีบให้คล้ายปีกสำหรับโบยบินในท้องทะเล ขนาดตัวยักษ์ใหญ่และความเร็วชนิดใกล้เคียงจรวด ทำให้ปลากระเบนแมนตามีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมาก โดยที่ศัตรูของปลากระเบนแมนตาในน่านน้ำไทยกลุ่มเดียว คือวาฬเพชรฆาต (Orcinus orca) และวาฬเพชรฆาตเทียม (Pseudorca crassidens) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแน่นอน โดยปกติแล้วกินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet) ปลากระเบนแมนตา เดิมถูกจัดเป็นเพียงปลาชนิดเดียว และปัจจุบันถูกจำแนกออกเป็น 2 ชนิด เมื่อไม่นานมานี้ ได้แก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา

บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา

บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอีย มี 49 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลากระเบนแมนตา มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (49 + 37)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บาคุกัน แบทเทิลบรอว์เลอรส์ นิวเวสโทรเอียและปลากระเบนแมนตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »