โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ

บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ vs. พระราชบัญญัติ

ท่สื่อกงซู (จีน:太史公書, อังกฤษ: Records of the Grand Historian, ปัจจุบันรู้จักทั่วไปในชื่อ สื่อจี้ 史記 - "บันทึกประวัติศาสตร์") เป็นอนุสาวรีย์ทางประวัติศาสตร์ของจีนโบราณและของโลก รู้จักในจีนตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล มีเนื้อหาครอบคลุมช่วงเวลากว่า 2,500 ปี ตั้งแต่ยุคในตำนานสมัยจักรพรรดิเหลือง ไปจนถึงรัชกาลจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ประมาณศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช กล่าวกันว่างานเขียนชิ้นนี้เริ่มขึ้นโดย ซือหม่า ทาน นักดาราศาสตร์ใหญ่ประจำราชสำนักของจักรพรรดิอู่ และได้มาสำเร็จลงโดยบุตรชายของเขา ซือหม่า เชียน ผู้ที่มักได้รับการขนานนามว่านักเขียนผู้โดดเดี่ยว บันทึกนี้จัดเป็นงานเขียนเชิงประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่และมีอิทธิพลอย่างสูงชิ้นหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ เสร็จสมบูรณ์เมื่อราว 100 ปีก่อนคริตศักราช ได้ถือเป็นแบบอย่างสำหรับ 24 ประวัติศาสตร์ราชวงศ์จีน (เสร็จสมบูรณ์ในรัชกาลจักรพรรดิเฉียนหลง) มีความแตกต่างจากประวัติศาสตร์รูปแบบตะวันตกกล่าวคือ บันทึกไม่ได้เขียนประวัติศาสตร์แบบ "บรรยายไปเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง" แต่มีการแยกย่อยความให้เล็กลง เชื่อมโยงเนื้อหาที่คาบเกี่ยวกันจำนวนมากกับผู้นำที่มีชื่อเสียง บุคคลเฉพาะ ตลอดจนหัวข้อใหญ่ที่มีความสำคัญ. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต (เช่นประธานาธิบดี) จะเรียกว่า รัฐบัญญัติ หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ

บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ

บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระราชบัญญัติ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่และพระราชบัญญัติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »