บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
บริเทนส์กอตแทเลินต์ vs. ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
ริเทนส์กอตทาเลนต์ (Britain's Got Talent) เป็นรายการโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวีและเป็นส่วนหนึ่งของรายการโทรทัศน์ชุดกอตแทเลินต์ที่จะค้นหาผู้ที่มีความสามารถทางด้านการแสดง ร้องเพลง ตลก รวมทั้งความสามารถอื่นๆ โดยไม่จำกัดอายุ นำเสนอรายการโดย แอนต์ แอนด์ เดค ซึ่งเป็นพิธีกรที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ ซึ่งผู้ชนะจากการลงคะแนนโดยผู้ชมจะได้รับรางวัล 100,000 ปอนด์สเตอร์ลิง และได้รับโอกาสแสดงต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวงศ์ ในส่วนคณะกรรมการตัดสิน ประกอบด้วย ไซมอน โคเวลล์, อแมนดา โฮลเดน, ปิแอร์ส มอร์แกน (ได้เปลี่ยนคณะกรรมการใหม่ 2 คนคือ เดวิดแฮดเซอร์ฮอฟและไมเคิล แมคอินไตย์ มาแทนปีแอร์ส ที่จะต้องไปรับงานของซีเอ็นเอ็นที่สหรัฐอเมริกาและไซมอน โคเวลล์ ที่จะมาเป็นกรรมการเฉพาะช่วงถ่ายทอดสดเท่านั้น นับตั้งแต่ซีรีส์ที่ 5 เป็นต้นไป ซีรีส์ชุดแรกของรายการนี้เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน - 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผู้ชนะคือ พอล พอตส์ ส่วนผู้ชนะของซีรีส์ที่สองซึ่งออกอากาศเมื่อวันที่ 12 เมษายน - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผู้ชนะคือ จอร์จ แซมป์สัน และซีรีส์ที่สามเริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 11 เมษายน - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 มีผู้ชนะคือ กลุ่มนักเต้น ไดเวอร์ซิตี ซึ่งในซีรีส์ที่สามนี้เอง ที่ทำให้ทั่วโลกให้ความสนใจ จากหนึ่งในผู้เข้าประกวดชื่อ ซูเซิน บอยล์ ที่ในช่วงแรกก่อนการแสดงความสามารถ ทั้งผู้ชมในโรงประกวดและคณะกรรมการตัดสิน แสดงความกังขาเชิงลบต่อเธอว่า ไม่น่าจะสามารถผ่านเข้ารอบได้ แต่เมื่อเธอเปล่งเสียงร้องในเพลง ไอดรีมด์อะดรีม (I dreamed a dream) เพลงจากละครเวทีเรื่องเลมีเซราบล์ (Les Misérables) เสียงร้องของเธอและเรื่องราวชีวิตของเธอทำให้เธอโด่งดังเพียงข้ามคืน แม้จะได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศก็ตามและท้ายที่สุดถึงแม้จะได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ เธอก็ยังได้แสดงต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวง. ทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซัน 5 (Thailand's Got Talent) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์เกี่ยวกับการประกวดที่เฟ้นหาคนที่มีความสามารถโดดเด่น โดยไม่จำกัดอายุ เพศ จำนวน รวมทั้งประเภทของโชว์ โดยบริษัท ยูนิลีเวอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ซื้อลิขสิทธิ์การประกวดบริเทนส์กอตแทเลินต์ จากประเทศอังกฤษมาออกอากาศในประเทศไทย โดยให้เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ร่วมกับโซนีมิวสิก เป็นผู้ผลิตรายการ เป็นรายการแรกของเวิร์คพอยท์ที่ผลิตด้วยการถ่ายทอดสด นับเป็นประเทศที่ 43 ของโลก และประเทศที่ 5 ของเอเชียที่มีรายการนี้ และเป็นฤดูกาลที่ 5 ของประเทศไทยหลังได้การตอบรับอย่างดีในสี่ฤดูกาล และซีซั่นนี้เป็นครั้งแรกที่นำปุ่มบัซเซอร์สีทอง หรือ Golden Buzzer ซึ่งกรรมการจะมีสิทธิกดได้เพียงคนละ 1 ครั้งเท่านั้น เพื่อที่จะเป็นทางลัดส่งการแสดงที่ชื่นชอบและประทับใจเข้าสู่รอบ Semi-Final ทันที.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
การเปรียบเทียบระหว่าง บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5
บริเทนส์กอตแทเลินต์ มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (20 + 15)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บริเทนส์กอตแทเลินต์และไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: