เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

บรรพชา vs. พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

งฆ์ บรรพชา (อ่านว่า บันพะชา, บับพะชา) (ปพฺพชฺช; ปฺรวฺรชฺย) แปลว่า การบวช (แปลว่า เว้นความชั่วทุกอย่าง) หมายถึง การบวชทั่วไป, การบวชอันเป็นบุรพประโยคแห่งอุปสมบท, การบวชเป็นสามเณร (เดิมทีเดียว คำว่า บรรพชา หมายความว่า บวชเป็นภิกษุ เช่น เสด็จออกบรรพชาอัครสาวกบรรพชา เป็นต้น ในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ คำว่า บรรพชา หมายถึง บวชเป็นสามเณร ถ้าบวชเป็นภิกษุ ใช้คำว่า อุปสมบท โดยเฉพาะเมื่อใช้คอบกันว่า บรรพชาอุปสมบท). ระราชสุทธิโสภณ พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) (นามเดิม:ประทวน เส็งจีน) เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท และเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่ารูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านเลขที่ 49 หมู่ 1 ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท บิดาชื่อ ช่วง เส็งจีน มารดาชื่อ พยุง เส็งจีน ท่านบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 ณ วัดบำรุงธรรม ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท โดยมีพระปลัดเจริญ วัดพาณิชวนาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2495 ณ วัดบำรุงธรรม ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท โดยมีพระปลัดเจริญ วัดพาณิชวนาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาสำราญ กาญจนาโภ (พระมงคลชัยสิทธิ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่า, อดีตเจ้าคณะอำเภอวัดสิงห์) วัดใหม่บำรุงธรรม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระบำเรอ กิตฺติญาโณ วัดใหม่บำรุงธรรม เป็นพระอนุสาวนาจาร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภิกษุสามเณรอุปัชฌาย์

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

บรรพชาและภิกษุ · พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)และภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »

สามเณร

ผู้ที่จะบรรพชาเป็นสามเณรได้ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป และจะบวชอยู่เป็นสามเณรตลอดชีวิตก็ได้ สามเณร และ สามเณรี แปลว่า เหล่ากอของสมณะ, หน่อเนื้อของสมณะ หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่า สามเณรี คำว่า สามเณร สามเณรี เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไป ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณรสามเณรีได้นั้นทางพระวินัยกำหนดอายุอย่างต่ำไว้ประมาณ 7 ขวบซึ่งพอช่วยเหลือตัวเองได้ พระวินัยระบุว่าพอจะไล่กาไล่ไก่ได้ ส่วนสูงไม่มีกำหนดไว้ ผู้มีอายุไม่เกิน 20 ปีจะบวชเป็นสามเณรตลอดไป ไม่บวชเป็นภิกษุก็ได้.

บรรพชาและสามเณร · พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)และสามเณร · ดูเพิ่มเติม »

อุปัชฌาย์

อุปัชฌาย์ (/อุ-ปัด-ชา/) ความหมายโดยพยัญชนะว่าผู้เข้าไปเพ่ง กล่าวคือ ได้แก่ผู้คอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนสัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน ซึ่งก็คือพระเถระผู้ทำหน้าที่เป็นประธานในการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา เรียกทั่วไปว่า พระอุปัชฌาย์ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า "Preceptor" พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก 2 อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร ตามกฎมหาเถรสมาคมนั้นได้กำหนดให้เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูป เว้นแต่ มีกรณีพิเศษ.

บรรพชาและอุปัชฌาย์ · พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)และอุปัชฌาย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

บรรพชา มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 12.50% = 3 / (5 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บรรพชาและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: