โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

น้ำและเสื้อกันฝน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง น้ำและเสื้อกันฝน

น้ำ vs. เสื้อกันฝน

น้ำในสองสถานะ: ของเหลว (รวมทั้งก้อนเมฆซึ่งเป็นตัวอย่างของละอองลอย) และของแข็ง (น้ำแข็ง) น้ำเป็นสิ่งที่โปร่งใส ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น และเกือบจะไม่มีสี ซึ่งเป็นสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบหลักของลำธาร, แม่น้ำ, และมหาสมุทรในโลก เป็นต้น และยังเป็นของเหลวในสิ่งมีชีวิต มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หิมะ, ธารน้ำแข็ง, และภูเขาน้ำแข็ง, ก้อนเมฆ, หมอก, น้ำค้าง, ชั้นหินอุ้มน้ำ และ ความชื้นในบรรยากาศ น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ดิน 1.7% ในธารน้ำแข็งและชั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเศษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจากอนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ) และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และชั้นบรรยากาศ และน้ำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของสิ่งมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฏจักรของการระเหยเป็นไอและการคายน้ำ (การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน น้ำดื่มสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะไม่มีแคลอรีหรือสารอาหารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ประชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่า 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเกี่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่างไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี.. ็กในชุดกันฝนมีฮูดสีเหลือง คนและสุนัขใส่ชุดกันฝนในวันที่ฝนตก เสื้อกันฝน คือเสื้อที่สามารถกันฝนหรือน้ำได้ ซึ่งส่วนมากจะสวมใส่เพื่อป้องกันร่างกายไม่ให้โดนน้ำฝน โดยเสื้อกันฝนนั้นมีหลายแบบบางตัวมีขนาดยาวแค่เอว บางตัวมีขนาดยาวถึงขาและบางชุดอาจมีกางเกงด้วย ร่มเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ยอดเยี่ยม แต่โชคไม่ดีมนุษยชาตินั้นขี้เกียจและการถืออะไรบางอย่างตลอดเวลาเพื่อกันไม่ให้ฝนโดนตัวนั้นเป็นเรื่องที่ลำบาก ดังนั้นเรามาดูประวัติศาสตร์ของเสื้อกันฝน คำตอบเดียวของคำถามที่ว่า ทำไมเราจึงต้องใช้มือถ้าต้องการให้ตัวแห้ง การคิดค้นนั้นย่อมเกิดขึ้นจากวัสดุที่มีอยู่ก่อนเท่านั้น ดังนั้นถ้าคุณเป็นชาวอินุที่อาร์คติกและคุณไม่อยากตัวเปียกจากการออกล่าในมหาสมุทรคุณก็ต้องใช้หนังแมวน้ำและปลาวาฬ ระหว่างนั้นที่อเมริกาใต้ ชนพื้นเมืองมีข้อได้เปรียบคือต้นยาง คนพวกนี้นำยางจากต้นไม้ออกมาเคลือบเสื้อผ้าของพวกเขา ที่ประเทศจีนหมวกและผ้าคลุมสานจากหญ้าคือวิธีที่นิยมใช้กันฝน เสื้อผ้าสร้างจากขนแกะซึ่งกันน้ำโดยธรรมชาติและช่วยให้อบอุ่นแม้จะเปียก ย้อนกลับไป1900ปีก่อนประวัติศาสตร์ แม้ว่าภาพด้านบนนี้จะถ่ายเมื่อไม่นานมานี้ การนำน้ำมันมาใช้กับผ้าช่วยให้ผ้านั้นกันน้ำและยืดหยุ่นได้ดีขึ้นเป็นวิธีการที่ประเทศจีนซึ่งพวกเขาชุบผ้าไหมด้วยน้ำมันพืช กะลาสีเรียนรู้มานานแล้วว่าการชุบผ้าในน้ำมันจากปลาจะทำให้มันกันน้ำได้ดีขึ้น ผ้าใบที่ซื้อกันได้ง่ายๆสมัยนี้มีต้นกำเนิดจากชีวิตในทะเล(ที่ติดกลิ่นคาวปลาหน่อยๆ) เสื้อกันฝน(แบบสมัยใหม่)ตัวแรกถูกสร้างขึ้นโดย จี ฟ็อกซ์ที่ลอนดอน โดยใช้ผ้าที่ทอสลับไปมาชื่อว่าแกมบูน บริษัทนี้เรียกเสื้อแบบนี้ว่า ฟ็อกซ์ อะควาติก ชาร์ล แมคอินทอทใช้เวลานานศึกษายางและสุดท้ายก็พบวิธีสร้างผ้าสองชั้นด้วยยางเพื่อกันน้ำ ซึ่งถือเป็นเสื้อกันฝนที่สามารถกันน้ำครั้งแรกนั้นถูกสร้างและจดตามสิทธิบัตรโดยนักเคมีชาวสก๊อตนามว่า ชาร์ลส์ แมชอินทอช (Charles Macintosh) เสื้อกันฝนของแมคอินทอทวางขายในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง น้ำและเสื้อกันฝน

น้ำและเสื้อกันฝน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง น้ำและเสื้อกันฝน

น้ำ มี 76 ความสัมพันธ์ขณะที่ เสื้อกันฝน มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (76 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง น้ำและเสื้อกันฝน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »