โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

น้องเมีย vs. รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

น้องเมีย (Song of Chaophraya) เป็นภาพยนตร์ไทย บทพระนิพนธ์ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2533 ได้แก. รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภัสสร บุณยเกียรติภาพยนตร์ไทยสรพงศ์ ชาตรีหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลฉัตรชัย เปล่งพานิชน้องเมีย

ภัสสร บุณยเกียรติ

ัสสร เหลียวรักวงศ์ หรือ ภัสสร บุณยเกียรติ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) ประกวดนางสาวไทยได้รางวัลขวัญใจช่างภาพนางสาวไทยปี 2531และได้เป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามนานาชาติ ปี 1988 ที่ญี่ปุ่นได้รางวัลขวัญใจช่างภาพ เมื่อเธอก้าวลงมาจากเวทีนางงาม สู่การเป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครหลายเรื่อง แต่งานที่โด่งดังสุดขีด ทำให้ชาวบ้านเรียกฮันนี่ได้สนิทปาก ก็เห็นจะเป็นงานเพลงชุดแรกในชีวิตในมาดนางเสือสาว ที่ตั้งชื่ออัลบั้มยืดยาวมากกว่าอัลบั้มเพลงยุคนั้น "ดวงตาข้างขวาของฉันคล้ายเป็นเนื้อเยื่อพิเศษ" ภายใต้สังกัด "คีตาเรคคอร์ด" แม้ว่าประสบการณ์การเป็นนักร้องยังอยู่ในระดับที่ยังไม่ถึงที่สุด แต่ตัวเพลงต่างๆ ก็สามารถวางภาพลักษณ์ของเธอได้ดีสมน้ำสมเนื้อไม่น่าเกลียด แต่ที่ยิ่งรักและยิ่งเกลียดที่สุดก็คือ การแสดงคอนเสิร์ตครั้งใหญ่ของเธอ ที่ชาวบ้านเรียกว่า "คอนเสิร์ตเรทอาร์" จนเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์จากหลายๆ ฝ่าย ถึงขั้นมีการจัดอภิปรายและเสวนาเกี่ยวกับความแรงของเธอตามสถาบันชั้นนำต่างๆ เรียกว่าเธอสมเป็นเสือปืนไวจริงๆ ความแรงของงานเพ ลงชุดแรกที่ขายดีมาก บวกกับกระแส จนมีต้องเพิ่มปกพิเศษ "ไม่อยากจะบอกว่าดวงตาข้างซ้ายของฉันก็มีเนื้อเยื่อพิเศษ" ตามออกมาด้วยการเอาบทเพลง "เสือ" มารีมิกซ์ดนตรีใหม่ให้คึกคักกว่าเดิม ฮันนี่ประสบความสำเร็จสูงสุดในช่วงสั้น ๆ เมื่อจู่ๆ เธอทิ้งงานเพลงชุดที่ 2 ที่จะต่อยอดให้เธอกลายเป็นซุปเปอร์สตาร์ ซึ่งทางทีมงานได้เตรียมชื่ออัลบั้มไว้แล้วว่า "น้ำผึ้งร้อนดั่งไฟ ใครโดนมันหลอมละลายทันที" และได้บันทึกเสียงเพลง "จูบสุดท้าย" ที่เป็นซิงเกิ้ลแรกเอาไวเรียบร้อย แต่ฮันนี่ทิ้งทุกอย่าง เพื่อไปใช้ชีวิตครอบครัว และต่อมาในปี 2539 ฮันนี่กกลับมาร้องเพลงอีกครั้งในชุด "ไม่กัดหรอก" โดยภาพลักษณ์ยังยึดคอนเซปท์เดิม แต่ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้นจึงสวนทางกับภาพเซ็กซี่ในแบบเก่า จึงทำให้เธอต้องถอยหลัง และกลับไปตั้งหลักกับงานแสดงเป็นงานหลัก ด้านบทบาทการแสดง เริ่มแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง ช่อปาริชาต ทางช่อง 7 สี และแสดงภาพยนตร์เรื่อง นักเลง และ แม่เบี้ย ในปี พ.ศ. 2532 จนได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 2 ตัวในปีเดียวกันคือ สาขาผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากเรื่อง แม่เบี้ย และรางวัลดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยมจากเรื่อง นักเลง ฮันนี่จบจากเซ็นต์โยเซฟแล้วเข้าเรียนต่อที่พระนครธุรกิจ ก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยหลากหลายบทบาททั้งแสดงภาพยนตร์ และถ่ายแบบ ในภาพลักษณ์ที่เน้นความเซ็กซี่ ชีวิตส่วนตัวสมรสกับธีรพงษ์ เหลียวรักวงศ์ ช่างภาพนู้ด มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ อินทัช เหลียวรักวงศ์ ปัจจุบันได้เป็นนักแสดงแล้ว จากนั้นหายจากวงการไปพักใหญ่ จนกลับมาแสดงละครให้กับช่องต่าง ๆ อีกครั้ง โดยในปี 2550 ได้รับรางวัล ok!award: sexy foever จากนิตยสาร ok!.

น้องเมียและภัสสร บุณยเกียรติ · ภัสสร บุณยเกียรติและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

น้องเมียและภาพยนตร์ไทย · ภาพยนตร์ไทยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

น้องเมียและสรพงศ์ ชาตรี · รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

น้องเมียและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ฉัตรชัย เปล่งพานิชและน้องเมีย · ฉัตรชัย เปล่งพานิชและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

น้องเมีย

น้องเมีย (Song of Chaophraya) เป็นภาพยนตร์ไทย บทพระนิพนธ์ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2533 ได้แก.

น้องเมียและน้องเมีย · น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

น้องเมีย มี 66 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี มี 166 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 2.59% = 6 / (66 + 166)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง น้องเมียและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »