เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล

นูเมทัล vs. เฮฟวีเมทัล

นูเมทัล (นิวเมทัล) หรือบางครั้งเรียกว่า new metal หรือ nü metal เป็นแนวเพลงที่เกิดขึ้นในช่วงกลางยุคทศวรรษที่ 1990 เป็นแนวเพลงที่รวมอิทธิพลของ กรันจ์ และ อัลเทอร์เนทีฟเมทัล รวมเข้ากับ ดนตรีฟังก์ ฮิปฮอป และ เฮฟวี่เมทัล หลายแนวอย่าง แทรชเมทัล และ กรูฟเมทัล นูเมทัล จะเน้นที่อารมณ์ จังหวะ ผิวสัมผัส มากกว่า เมโลดี้ของเพลง เพลงนิวเมทัลส่วนใหญ่จะใช้จังหวะ ลัดโน้ตของท่อนริฟฟ์ เล่นกับการกีตาร์และกลองที่มีการปรับเสียงให้ต่ำลง ให้ดูหม่นลง และเสียงที่หนาขึ้นมากกว่าเพลงร็อคทั่วไป. ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล

นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟังก์เมทัลกรันจ์กรูฟเมทัลกลองกีตาร์กีตาร์เบสออลเทอร์นาทิฟเมทัลอินดัสเทรียลเมทัลแทรชเมทัลเฮฟวีเมทัล

ฟังก์เมทัล

ฟังก์เมทัล หรือที่รู้จักในชื่อ แทรชฟังก์ หรือ ฟังก์คอร์ เป็นแนวเพลงที่ผสมผสานทั้งจากฟังก์ร็อก และเฮฟวีเมทัล เฟธโนมอร์ ได้ผสมฟังก์เมทัลกับดนตรีอัลเทอร์เนทีฟเมทัล และดนตรีเอกซ์เพอริเมนทัลร็อก เลส เคลย์พูล สมาชิกสำคัญของวงดนตรีฟังก์เมทัล ไพรมั.

นูเมทัลและฟังก์เมทัล · ฟังก์เมทัลและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

กรันจ์

กรันจ์ (ในบางครั้งเรียก Seattle Sound) เป็นแนวเพลงย่อยของออลเทอร์นาทิฟร็อก ได้รับอิทธิพลจากฮาร์ดคอร์พังก์ เฮฟวีเมทัล และอินดี้ร็อก กรันจ์เกิดขึ้นช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 80 โดยวงจากวอชิงตันและบางส่วนของซีแอตเทิล ลักษณะของดนตรีมีความดิบของเสียงริฟฟ์กีตาร์ แต่สอดแทรกด้วยท่วงทำนองติดหูของกรันจ์ร็อกที่ได้รับอิทธิพลมาจากเฮฟวีเมทัลและพังก์ร็อกในสัดส่วนที่เหมาะสม โดยเฉพาะไลน์กีตาร์แบบเฮฟวีเมทัลในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 แต่ด้านเนื้อเพลงกลับได้รับอิทธิพลของพังก์ร็อกมาอย่างเต็มที่ ด้วยถ้อยคำเสียดสีสังคม รวมไปถึงความคิดที่เป็นอิสระที่ได้รับมาจากช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 ของอเมริกันฮาร์ดคอร์ โดยวงกรันจ์ร็อกในยุคแรก เช่น กรีนริเวอร์ มัดฮันนี่ ซาวด์การ์เดน ซึ่งหนักหน่วงกว่ากรันจ์ร็อกในยุคต่อมาอย่างเนอร์วานา ซึ่งความแตกต่างที่สังเกตได้อย่างชัดเจน คือเพลงของเนอร์วานามีความชัดเจนในเรื่องของทำนองที่ติดหูมากกว่า กรันจ์ร็อกได้เข้าสู่กระแสหลักกลางคริสต์ทศวรรษ 1990.

กรันจ์และนูเมทัล · กรันจ์และเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

กรูฟเมทัล

กรูฟเมทัล บางครั้งเรียกว่า โฟสต์-แทรช, นีโอ-แทรช, พาวเวอร์กรูฟ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กรูฟ เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮฟวีเมทัล มักนำไปเรียกเป็นแนวเพลงของวง แพนเทอรา และเอกซ์ฮอร์เดอร์ โดยหลักแล้ว กรูฟเมทัลได้นำความหนักแน่น และคุณภาพเสียงมาจากแนวดนตรีแทรชเมทัล และเล่นในความเร็วหรือเทมโปในระดับปานกลาง อีกทั้งวงดนตรีส่วนใหญ่มีการเล่นเพลงไปสู่จังหวะที่เร็วขึ้นเป็นครั้งคราว.

กรูฟเมทัลและนูเมทัล · กรูฟเมทัลและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

กลอง

กลอง ทำด้วยหนังวัวขึงด้วยเชือก กลอง เป็นเครื่องดนตรีประเภทตีกระทบ ประกอบด้วยแผ่นบาง มักทำด้วยแผ่นหนังขึงยึดติดกับโครงให้ตึง ทำให้เกิดเสียงโดยการตีด้วยไม้ หรืออวัยวะของผู้เล่น กลองจัดเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดในโลก กลอง มีทั้งกลองที่ทำจากหนังสัตว์ และ กลองที่ทำจากพลาสติก ซึ่งจะให้เสียงที่แตกต่างกันไป และการใช้อุปกรณ์ช่วย กลองที่ทำจากพลาสติกจะต้องใช้ไม้ช่วยตีเพราจะช่วยให้เกิดเสียงที่ดังขึ้น เช่น กลองสแนร์ และ กลองชุด เป็นต้น ส่วนกลองที่ทำจากหนังสัตว์ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ไม้ เนื่องจาก เราสามารถใช้แค่มือตีก็จะทำให้เกิดเสียงดังพอตัวอยู่แล้ว เช่น กลองยาว กลองรำมะนา ตะโพน เป็นต้น แต่ก็มีกลองหนัง ที่จำเป็นต้องใช้ไม้ก็มี เช่น กลองสะบัดชัย และ กลองทัด เนื่องจากเป็นกลองขนาดใหญ่จึงไม่สามารถใช้มือตีอย่างเดียวได้ กลองไม่ได้มีแค่ใช้ในทางเท่านั้นแต่ยังใช้ในด้านอื่นๆอีกด้วยเช่น การตีกลองเพื่อร้องทุกข์ต่อศาล การตีกลองเพื่อเปิดสงครามในสมัยก่อน และ การตีกลองเพื่อเป็นสัญญาณเพื่อให้พระสงฆ์ฉันเพลได้.

กลองและนูเมทัล · กลองและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

กีตาร์และนูเมทัล · กีตาร์และเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

กีตาร์เบสและนูเมทัล · กีตาร์เบสและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

ออลเทอร์นาทิฟเมทัล

ออลเทอร์นาทิฟเมทัล (alternative metal) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งของเฮฟวีเมทัลที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1990 ไปกับการแตกหน่อของดนตรีกรันจ์ มีเอกลักษณ์ที่ชัดเจนอย่างเช่น ท่อนริฟฟ์หนัก ๆ แต่มักจะท่อนปลายแบบทดลองที่ดูชัดเจน รวมถึงเนื้อเพลงที่ดูผิดแผกธรรมชาติ และการใช้ odd time signature รวมถึงการลัดจังหวะดนตรีที่มากกว่าดนตรีเมทัลทั่วไป การใช้เทคนิคที่ไม่ธรรมดา การต่อต้านรูปแบบสามัญของดนตรีเฮฟวี และการรวมอิทธิพลเพลงประเภทอื่นนอกเหนือจากดนตรีเมทัลเข้าม.

นูเมทัลและออลเทอร์นาทิฟเมทัล · ออลเทอร์นาทิฟเมทัลและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

อินดัสเทรียลเมทัล

อินดัสเทรียลเมทัล (Industrial metal) เป็นแนวเพลงที่พัฒนามาจากแนว อินดัสเทรียล และ เฮฟวีเมทัล โดยใช้ท่อนริฟฟ์กีตาร์ซ้ำ ๆ ของเมทัล การใช้แซมพลิง เครื่องสังเคราะห์เสียงและท่อนซับซีเควนเซอร์ และเสียงร้องที่บิดไป วงแนวอินดัสเทรียลเมทัล อย่างเช่น มินิสตรีDi Perna 1995a, page 69.

นูเมทัลและอินดัสเทรียลเมทัล · อินดัสเทรียลเมทัลและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

แทรชเมทัล

แทรชเมทัล เป็นแนวเพลงย่อยของเฮฟวีเมทัล และเป็นหนึ่งในแนวเอ็กซ์ตรีมเมทัล มีลักษณะเด่นคือความเร็วและความก้าวร้าวในจังหวะของเพลง โดยเฉพาะการเน้นริฟฟ์กีตาร์อย่างรวดเร็ว ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความสามารถในเทคนิคอย่างมาก นอกจากนี้ยังรวมถึงการกระเดื่องกลองดับเบิลเบสอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของแทรชเมทัลนั้น อยู่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 70 และต้นทศวรรษที่ 80 เมื่อวงที่ได้รวมดนตรี นิวเวฟออฟบริติชเฮฟวีเมทัล ได้เกิดเป็นแนวใหม่และพัฒนา มีการเคลื่อนไหวที่แยกตัวไปจากพังค์ร็อก แนวเพลงนี้มีความก้าวร้าวกว่ามากเมื่อเทียบกับ สปีดเมทัล และแนวพวกนี้มักจะมีการผสมผสานข้ามแนวเพลงอย่างชัดเจนจากเมทัล ไปแนวอื่น และได้รับอิทธิพลจากเพลงแนวอื่นที่ไม่ใช่เมทัล เช่น คลาสสิก แจ๊ส ในช่วงกลางทศวรรษที่ 80 ถือเป็นยุคที่รุ่งเรืองของแทรชเมทัลอเมริกัน โดยเฉพาะของ 4 วงแกนหลัก ที่เรียกกันว่า "บิ๊กโฟว์" (Big 4) จากผลงานอัลบั้ม Master Of Puppets ของเมทัลลิก้า,Peace Sells...But Who's Buying? ของเมกาเดธ, Reign in Blood ของ สเลเยอร์ อัลบั้มเหล่านี้เข้าสู่กระแสหลักได้, Among The Living ของ แอนแทรกซ.

นูเมทัลและแทรชเมทัล · เฮฟวีเมทัลและแทรชเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

เฮฟวีเมทัล

ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.

นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล · เฮฟวีเมทัลและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล

นูเมทัล มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฮฟวีเมทัล มี 50 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 14.71% = 10 / (18 + 50)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นูเมทัลและเฮฟวีเมทัล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: