โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11

นีล อาร์มสตรอง vs. อะพอลโล 11

รือโท นีล ออลเดน อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong; 5 สิงหาคม พ.ศ. 2473 — 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกัน และเป็นมนุษย์ที่ได้ชื่อว่าเหยียบพื้นผิวดวงจันทร์คนแรกของโลก. ัญลักษณ์โครงการอะพอลโล 11 ลูกเรืออะพอลโล่ 11 ประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong) ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน (Adwin Aldrin) และ ไมเคิล คอลลินส์ (Michael Collins) อะพอลโล 11 (Apoll XI) เป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จขององค์การนาซา อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโดยจรวดแซทเทิร์น 5 (Saturn V) ที่ฐานยิงจรวจที่แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11

นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11 มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์นาซาโครงการอะพอลโลไมเคิล คอลลินส์

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

นักบินอวกาศ บัสซ์ อัลดรินและนีล อาร์มสตรอง ในแบบจำลองการฝึกดวงจันทร์และส่วนลงจอดของนาซา นักทฤษฎีสมคบคิดกล่าวว่า การถ่ายภาพภารกิจกระทำโดยใช้ชุดที่คล้ายกับแบบจำลองฝึกนี้ ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ (Moon landing conspiracy theories) อ้างว่า โครงการอะพอลโลและการลงจอดบนดวงจันทร์ที่สืบเนื่องบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นการหลอกลวงที่นาซาและสมาชิกองค์การอื่นจัดฉากขึ้น มีหลายปัจเจกบุคคลและกลุ่มได้อ้างการสมคบคิดดังกล่าวมาตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1970 การอ้างที่โดดเด่นที่สุด คือ การลงจอดที่มีมนุษย์โดยสารไปด้วยทั้งหกครั้ง (ระหว่าง ค.ศ. 1969-1972) เป็นเรื่องกุ และนักบินอวกาศของอะพอลโลสิบสองคนมิได้เดินบนดวงจันทร์ นักทฤษฎีสมคบคิดมีพื้นฐานข้ออ้างจากความคิดที่ว่า นาซาและองค์การอื่นทำให้สาธารณะหลงผิดเชื่อว่า การลงจอดเกิดขึ้นโดยการผลิต ทำลายหรือยุ่งกับหลักฐาน รวมทั้งภาพถ่าย เทปการวัดและส่งข้อมูลทางไกล การสื่อสัญญาณ ตัวอย่างหินจากดวงจันทร์ และกระทั่งพยานปากสำคัญบางคน นักทฤษฎีสมคบคิดได้จัดการรักษาความสนใจของสาธารณะเอาไว้กับทฤษฎีของพวกตนมาได้นานกว่า 40 ปี แม้จะมีหลักฐานจากฝ่ายที่สามเกี่ยวกับการลงจอดและการหักล้างในรายละเอียดต่อข้ออ้างการหลอกลวงนี้ การสำรวจความคิดเห็นในหลายสถานที่ได้แสดงว่า ชาวอเมริกันระหว่าง 6% ถึง 20% ที่ถูกสำรวจ เชื่อว่า การลงจอดโดยมีมนุษย์โดยสารไปด้วยนั้นเป็นการกุขึ้น แม้แต่ใน..

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์และนีล อาร์มสตรอง · ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์และอะพอลโล 11 · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

นาซาและนีล อาร์มสตรอง · นาซาและอะพอลโล 11 · ดูเพิ่มเติม »

โครงการอะพอลโล

ตราโครงการอะพอลโล โครงการอะพอลโล เป็นโครงการที่ 3 ต่อเนื่องมาจากเมอร์คิวรีและเจมินี มีเป้าหมายสำคัญคือ จะนำมนุษย์ลงไปสำรวจดวงจันทร์ ใช้มนุษย์อวกาศขึ้นไปครั้งละ 3 คน ตัวยานอวกาศประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ.

นีล อาร์มสตรองและโครงการอะพอลโล · อะพอลโล 11และโครงการอะพอลโล · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คอลลินส์

มเคิล คอลลินส์ (อังกฤษ: Michael Collins) (เกิด: 31 ตุลาคม ค.ศ. 1930; 86 ปี) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกันและนักบินทดสอบ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มนักบินอวกาศสิบสี่คนที่สามในปีพ.ศ. 2506 เขาบินเข้าไปในอวกาศสองครั้ง ภารกิจแรกคือเจมินิ 10 ไมเคิล คอลลินส์ได้เข้าร่วมภารกิจโครงการอะพอลโล 11 เขาไปดวงจันทร์กับนีล อาร์มสตรอง และเอดวิน อัลดริน เขาเป็นหนึ่งใน 24 คนที่ได้เดินทางไปยังดวงจันทร์ เขาเดินทางมายังประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เมื่อปี..

นีล อาร์มสตรองและไมเคิล คอลลินส์ · อะพอลโล 11และไมเคิล คอลลินส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11

นีล อาร์มสตรอง มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ อะพอลโล 11 มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 13.33% = 4 / (22 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นีล อาร์มสตรองและอะพอลโล 11 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »