ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย
นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภิกษุทุกข์ขันธ์
ภิกษุ
กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.
นิพพานและภิกษุ · พิธีกรรมในงานศพไทยและภิกษุ ·
ทุกข์
ทุกข์ หรือ ทุกขัง (ทุกฺข) เป็นหลักธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนา แปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารทั้งปวง อันได้แก่ ขันธ์ 5 ซึ่งเป็นที่ตั้งของกองทุกข์ ในทางพระพุทธศาสนา การกำหนดทุกข์ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องทำเพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ในอริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส ทุกข์ จัดเป็นหนึ่งในชื่อเรียกที่เป็นไวพจน์ของขันธ์ซึ่งถูกใช้เป็นอย่างมากในพระไตรปิฎก.
ทุกข์และนิพพาน · ทุกข์และพิธีกรรมในงานศพไทย ·
ขันธ์
ันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย
การเปรียบเทียบระหว่าง นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย
นิพพาน มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ พิธีกรรมในงานศพไทย มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.00% = 3 / (27 + 23)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นิพพานและพิธีกรรมในงานศพไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: